กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ชุมชนสุขภาพดี ปลอดขยะ ลดโรค
รหัสโครงการ 66-L5192-2-1
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ เทศบาลตำบลลำไพล อำเภอเทพาจังหวัดสงขลา
วันที่อนุมัติ 1 มกราคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2566 - 31 สิงหาคม 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 8 กันยายน 2566
งบประมาณ 265,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวสุวิมล บุญเกิด
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวชนาภัทร สิงห์หนู
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ , แผนอนามัยและสิ่งแวดล้อม
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 16 ม.ค. 2566 31 ส.ค. 2566 265,000.00
รวมงบประมาณ 265,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 5 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] :

ระบุ

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 อากาศเสีย เกิดจากการเผามูลฝอยกลางแจ้ง ทำให้เกิดควันและสารมลพิษทางอากาศ
20.00
2 น้ำเสีย เกิดจากการกองมูลฝอยที่ตกค้างบนพื้น เมื่อฝนตกจะเกิดน้ำเสียไหลลงสู่แม่น้ำพ ทำให้เกิดมลพิษทางน้ำ
20.00
3 แหล่งพาหะนำโรคจากมูลฝอยตกค้างบนพื้น จะเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของสัตว์นำโรค เช่น หนู แมลงวัน สามารถส่งผลต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน
20.00
4 เหตุรำคาญและความไม่น่าดูจากการเก็บขยะมูลฝอยไม่หมด ส่งผลให้เกิดกลิ่นเหม็นรบกวน การไม่แยกประเภทของขยะ เป็นสาเหตุซึ่งทำให้เกิดภาวะโลกร้อน
40.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จำนวนครัวเรือนที่มีการคัดแยกขยะอย่างถูกต้อง (ครัวเรือน)

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อสร้างจิตสำนึกของประชาชนในการรักษาความสะอาด สร้างจิตสำนึกในการดูแลสุขภาพให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ ทั้ง 13 หมู่บ้าน ของเขตเทศบาลตำบลลำไพล

 

0.00 100.00
2 เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้กับทุกหมู่บ้าน เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค

 

100.00
3 เพื่อให้หมู่บ้าน/ชุมชน เป็นหมู่บ้านน่าอยู่

 

50.00
4 สามารถลดปริมาณขยะที่ต้องนำส่งไปกำจัดลง และขยายผลในการร่วมกันจัดการปัญหาขยะมูลฝอยอย่างครบวงจร

 

30.00
5 เพื่อรณรงค์ ขับเคลื่อนการคัดแยกขยะอินทรีย์ เป็นแหล่งเรียนรู้ พร้อมสาธิตวิธีการจัดทำถังขยะเปียกลดโรค อย่างถูกต้องให้กับแกนำของชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.) รวมถึงประชาชนในพื้นที่

 

20.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 265,000.00 0 0.00
1 ม.ค. 66 - 31 ส.ค. 66 ประชาสัมพันธ์/ให้ความรู้แก่แกนนำสุขภาพครอบครัว การจัดการขยะในครัวเรือน ชุมชน และการนำขยะไปใช้ประโยชน์ 0 0.00 -
1 ม.ค. 66 - 31 ส.ค. 66 อบรมให้ความรู้ในการจัดการขยะอินทรีย์ ให้มีประโยชน์ในครัวเรือน โดยการจัดทำถังขยะเปียกในครัวเรือน พร้อมสาธิตวิธีการจัดทำถังขยะเปียกลดโรคอย่างถูกวิธี ให้กับแกนนำชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.) รวมถึงประชาชนในพื้น 0 265,000.00 -
1 ม.ค. 66 - 31 ส.ค. 66 อบรมการแยกขยะและการจัดการขยะในครัวเรือน (การทำน้ำหมักชีวภาพ และการทำปุ๋ยหมักจากขยะอินทรีย์) 0 0.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลลำไพลมีความรู้ และให้ความสำคัญในการจัดการขยะอินทรีย์ตั้งแต่ต้นทาง โดยการจัดทำถังขยะเปียกลดโรคในระดับครัวเรือน
  2. ผู้นำชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.) รวมถึงประชาชนที่เข้าร่วมอบรมในโครงการ สามารถขยายผลการจัดทำถังขยะเปียกไปสู่ประชาชนในพื้นที่
  3. จำนวนครัวเรือนในเขตพื้นที่เทศบาลตำลลำไพลมีพฤติกรรมคัดแยกขยะอินทรีย์อย่างถูกต้อง โดยมีการจัดทำถังขยะเปียกลดโรคในครัวเรือน ร้อยละ 85
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 12 ม.ค. 2566 00:00 น.