กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแม่ขรี

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการรู้กินรู้ปลูกผักปลอดสารต้านโรคภัย

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแม่ขรี

โรงเรียนอนุบาลเทศบาลตำบลแม่ขรี

1. นางกัลยา อุทัยรังษี
2. นางวีรวรรณเอียดมิ่ง
3. นางวชิราฉางวางปราง
4. นางณปภัทรส่งแสง
5. นางสาวอนุสรณ์ชนะพาล

พื้นที่เขตเทศบาลตำบลแม่ขรี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. นักเรียนตระหนักในคุณค่าและเห็นความสำคัญของการบริโภคผักปลอดสารพิษ
  1. นักเรียนมีความรู้และตระหนักในการเลือกบริโภคอาหาร พืช ผัก และผลไม้ที่ไม่ปลอดภัยต่อสุขภาพ
0.00
2 2. นักเรียนสามารถเลือกบริโภคผักสดปลอดสารพิษได้อย่างเหมาะสม
  1. นักเรียนสามารถปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภค และทำจุลินทรีย์สังเคราะห์แสงใช้ในโรงเรียนและใน ครัวเรือนตนเองได้
0.00
3 3. นักเรียนสามารถปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภคในโรงเรียนและนำของที่เหลือใช้ในครัวเรือนมาใช้ให้เกิดประโยชน์แบบพึ่งพาตนเองได้

สามารถปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภคในโรงเรียนและนำของที่เหลือใช้ในครัวเรือนมาใช้ให้เกิดประโยชน์แบบพึ่งพาตนเองได้

0.00
4 ๔. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและศึกษาวิธีการทำจุลินทรีย์สังเคราะห์แสงและลดต้นทุนการผลิตและลดการใช้ปุ๋ยเคมีที่มีอันตรายต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมได้

มีความรู้ความเข้าใจและศึกษาวิธีการทำจุลินทรีย์สังเคราะห์แสงและลดต้นทุนการผลิตและลดการใช้ปุ๋ยเคมีที่มีอันตรายต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมได้

0.00

การดำเนินชีวิตของคนในสังคมปัจจุบัน เด็กและเยาวชนเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าและความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศแต่ปัจจุบันเด็กอยู่ในภาวะความเสี่ยงทางด้านสุขภาพอย่างน่าเป็นห่วง ทั้งนี้เนื่องจากเด็กต้องบริโภคอาหาร พืช ผัก และผลไม้ที่ไม่ปลอดภัย ทำให้มีการสะสมสารพิษภายในร่างกาย อาจก่อให้เกิดภาวะความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยและการเกิดโรคต่างๆได้ซึ่งเป็นการบั่นทอนทรัพยากรมนุษย์ระยะยาว แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาภาวะความเสี่ยงด้านสุขภาพต้องให้กระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย ที่กระตุ้นให้เด็กและเยาวชน เห็นคุณค่าและความสำคัญของการดูแลรักษาสุขภาพ สามารถปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน การส่งเสริมกิจกรรมการรู้กิน รู้ปลูกผักปลอดสารพิษที่ควบคู่กันไปกับการทำจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง ลดการใช้ปุ๋ยเคมี และป้องกันโรคพืช จะช่วยสร้างโอกาสให้สุขภาพเด็กไทยได้รับการคุ้มครองและปลอดภัย
โรงเรียนอนุบาลเทศบาลตำบลแม่ขรีเห็นความสำคัญของสุขภาพนักเรียน โดยให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่๓ และชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ จำนวน ๑๕๖ คน ทำโครงการรู้กิน รู้ปลูก ผักปลอดสารต้านโรคภัยภายในโรงเรียนเพื่อนำผลผลิตที่ได้มาประกอบอาหาร นักเรียนได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย และมีสุขภาพที่แข็งแรงปลอดภัยจากโรคได้

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 152
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 12/01/2023

กำหนดเสร็จ 31/05/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1.ขั้นเตรียม

ชื่อกิจกรรม
1.ขั้นเตรียม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.  จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ 2.  ประชุมคณะกรรมการเพื่อวางแผนดำเนินงาน

ระยะเวลาดำเนินงาน
12 มกราคม 2566 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 2.ขั้นดำเนินการ

ชื่อกิจกรรม
2.ขั้นดำเนินการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.  ดำเนินการตามโครงการ        ๑.กิจกรรมรั้วกินได้      1.  เชิญวิทยากรมาให้ความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับปฏิบัติการให้ความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับประโยชน์ของ       การบริโภคผักปลอดสารพิษต่อสุขภาพ      2.  นักเรียนลงมือปฏิบัติการปลูกผักปลอดสารพิษในกระสอบ      3.  ติดตามและประเมินผลการดำเนินโครงการ ค่าใช้จ่าย   จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ ๑.ค่าตอบแทนวิทยากร  ๑ ท่านจำนวน ๔ ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท    เป็นเงิน        ๒,๔00      บาท ๒. ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม ๑๖๖ คน x 2๕ บาท x 1 มื้อ        เป็นเงิน       ๔,๑๕๐         บาท ๓. ค่าป้ายโครงการขนาด 1.2 X 2.4 ม.                               เป็นเงิน           460   บาท ๔. ค่าชุดสาธิต     ๔.เมล็ดพันธุ์ผัก       ๔.๑ เมล็ดพันธุ์ผักกาดขาว ๕ ซอง  ซองละ ๒๐ บาท             เป็นเงิน      ๑๐๐    บาท       ๔.๒ เมล็ดพันธุ์ผักคะน้า  ๕ ซอง     ซองละ ๒๐ บาท             เป็นเงิน           ๑๐๐    บาท ๕. แกลบดำ ๒ กระสอบ ละ ๖๐ บาท                                   เป็นเงิน           ๑๒๐    บาท
๖. ฟอสเฟต ๑ กระสอบ                                                     เป็นเงิน           ๑๗๐    บาท
๗. ดินผสมปลูกพืชผัก  ๑๕๖ ถุง  ถุงละ ๒๕ บาท                         เป็นเงิน        ๓,๙๐๐      บาท ๘. ปุ๋ยคอก ๒ กระสอบ ๆ ละ ๗๐    บาท                                     เป็นเงิน           ๑๔๐    บาท ๙. ถุงกระสอบ ขนาด ๘ x ๑๕ นิ้ว ๑๕๖ ใบๆ ละ ๑๒ บาท             เป็นเงิน       ๑,๘๗๒      บาท ๑๐. มูลไส้เดือน ๒ กระสอบ กระสอบละ   ๒๐๐ บาท                       เป็นเงิน          ๔๐๐    บาท ๑๑.ไข่ไก่ ๒ แผง แผงละ ๑๕๐                                           เป็นเงิน           ๓๐๐   บาท ๑๒.น้ำปลาทิพรส ๒ ขวด                                                   เป็นเงิน            ๕๐      บาท ๑๓. เคยกุ้ง ๑ กิโลกรัม                                                       เป็นเงิน        ๑๐๐    บาท

     รวมเป็นเงิน   ๑๔,๒๖๒  บาท  (หนึ่งหมื่นสี่พันสองร้อยหกสิบสองบาทถ้วน)                       (ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยกันได้ตามความเหมาะสม)

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2566 ถึง 30 เมษายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
14262.00

กิจกรรมที่ 3 3.ขั้นสรุปผล

ชื่อกิจกรรม
3.ขั้นสรุปผล
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ติดตามและประเมินผล -รายงานผลการดำเนินโครงการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 พฤษภาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 14,262.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. นักเรียนมีความรู้และตระหนักในการเลือกบริโภคอาหาร พืช ผัก และผลไม้ที่ไม่ปลอดภัยต่อสุขภาพ
2. นักเรียนสามารถปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภค และทำจุลินทรีย์สังเคราะห์แสงใช้ในโรงเรียนและใน ครัวเรือนตนเองได้


>