แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะลุรู รหัส กปท. L2540
อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม
ประเทศไทยมีการปลูกยางพาราเป็นลำดับต้นๆ ของ โลก มีพื้นที่ในการกรีดยางพารา จำนวน 19.22 ล้านไร่ ภาคใต้มีพื้นที่ในการกรีดยางพารามากเป็นลำดับที่หนึ่ง ซึ่งอำเภอสุไหงปาดี มีพื้นที่ กรีดยางเป็นลำดับต้นๆ ของจังหวัดนราธิวาส จากการประเมินความเสี่ยงทางการยศาสตร์ในงาน วิจัยที่ผ่านมาพบว่าเกษตรกรมีความเสี่ยงสูงด้านการยศาสตร์ส่วนใหญ่จากท่าทางการกรีดยาง การทำยางแผ่น และการเก็บน้ำยาง (กวิสทรารินทร์ คะณะพันธ์ และคณะ, 2562) ซึ่งยังพบผลกระทบต่อสุขภาพของเกษตรกรที่เกิดจากลักษณะท่าทางที่ไม่เหมาะสม การทำงานที่มีการทำงานซ้ำๆ ภาระงานที่หนัก และสภาพแวดล้อมอื่นๆ ที่อาจส่งผลต่อภาวะความผิดปกติ ทางระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อ จากการรายงานพบว่า ตำแหน่งที่มีความถี่ของอาการปวดมากสุด 3 ลำดับต้น คือ มือและข้อมือ เข่า และหลังส่วนล่าง(กวิสทรารินทร์คะณะพันธ์ และคณะ, 2562) ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาวิจัยในผู้ประกอบอาชีพกรีดยางพาราจังหวัดตรัง ที่พบอาการเหล่านี้ รุนแรงในช่วงงานหนัก (ณรงค์เบญสอาด และคณะ, 2547) จากการศึกษาการ เจ็บป่วยในแต่ละกลุ่มโรค ใน เกษตรกรปลูกพืชไร่ที่ขึ้นทะเบียนพบอุบัติการณ์ของการเจ็บ ป่วยสูงสุดในกลุ่มโรคระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อ โดยส่วน ใหญ่แล้วเกษตรกรจะป่วยด้วยโรคปวดหลังส่วนล่าง ปวดคอ ปวดแขนปวดขา กล้ามเนื้ออักเสบ (สุนิสา ชายเกลี้ยง และ คณะ, 2562) เนื่องจากการป่วยที่เกิดขึ้นกับระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อ นั้นส่งผลกระทบต่อสุขภาพเพียงเล็กน้อยที่ทำให้เกิดการ เจ็บป่วยในระยะยาวได้ ปัญหาสุขภาพที่พบส่วนใหญ่ของเกษตรกรมีปัญหาที่หลังส่วนล่าง รองลง มา คือมีอาการปวดเมื่อยบริเวณเข่า มีอาการปวดจนไม่สามารถทำงานได้(รัชนี จูมจี และคณะ,2560) ดังนั้น งานอาขีวอนามัย กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลสุไหงปาดี จึงได้จัดโครงการส่งเสริมสุขภาพเกษตรกร ปี2566 ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส เพื่อเป็นแนวทางในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคกระดูกและกล้ามเนื้อในเกษตรกรต่อไป
-
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี้ยวโรคกระดูกและกล้ามเนื้อเพิ่มขึ้นตัวชี้วัด : ร้อยละ60ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี้ยวโรคกระดูกและกล้ามเนื้อเพิ่มขึ้นขนาดปัญหา 30.00 เป้าหมาย 20.00
-
2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถบริหารท่าออกกำลังกายลดการปวดในโรคกระดูกและกล้ามเนื้อได้ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถบริหารท่าออกกำลังกายลดการปวดในโรคกระดูกและกล้ามเนื้อได้ขนาดปัญหา 30.00 เป้าหมาย 20.00
- 1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคกระดูกและกล้ามเนื้อรายละเอียด
อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคกระดูกและกล้ามเนื้อ โดยมีรายละเอียดดังนี้
- ค่าตอบแทนวิทยากร ( ชั่วโมงละ 600 x 5 ชั่วโมง ) เป็นเงิน 3,000 บาท
- ค่าป้ายไวนิลชื่อโครงการ ( ขนาด 1.20 เมตร x 2.40 เมตร ) เป็นเงิน 720 บาท - ค่าไวนิลให้ความรู้พร้อมขาตั้งลูมิเนียน 3000 บาท - ค่าอาหารกลางวัน ( มื้อละ 60 บาท x 80 คน ) เป็นเงิน4,800 บาท
- ค่าอาหารว่าง ( มื้อละ 30 บาท x 2 มื้อx80 คน ) เป็นเงิน4,800 บาท
- ค่าอุปกรณ์เครื่องเขียน ( ชุดละ 15x80 คน ) เป็นเงิน1,200 บาท
- ค่ากระเป๋าถุงผ้า ( ชุดละ 65x80 คน ) เป็นเงิน5,200 บาท รวมค่าใช้จ่ายเป็นเงินทั้งสิ้น22,720บาท (-สองหมื่นสองพันเจ็ดร้อยยี่สิบบาทถ้วน-งบประมาณ 22,720.00 บาท
ตั้งแต่ วันที่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566
ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี
รวมงบประมาณโครงการ 22,720.00 บาท
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี้ยวโรคกระดูกและกล้ามเนื้อเพิ่มขึ้น
- ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถบริหารท่าออกกำลังกายลดการปวดในโรคกระดูกและกล้ามเนื้อได้
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะลุรู รหัส กปท. L2540
อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะลุรู รหัส กปท. L2540
อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................