แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด รหัส กปท. L3017
อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
โรคความดันโลหิตสูง เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจตีบตัน กล้ามเนื้อหัวใจตายหรือขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง อัมพฤกษ์ อัมพาต ไตวายเรื้อรัง หัวใจล้มเหลวและสมองเสื่อม นอกจากนี้ ระดับความดันโลหิตที่สูงขึ้นอย่างรวดเร็วยังเป็นปัจจัยกระตุ้นให้เกิดหลอดเลือดสมองแตก เลือดออกในสมอง (Hemorrhagic stroke) หลอดเลือดหัวใจตีบตันเกิดภาวะหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลันหรือหลอดเลือดแดงใหญ่ฉีกขาด โรคความดันโลหิตสูงจึงเป็นปัจจัยเสี่ยงในการเสียชีวิตด้วย จากข้อมูลการสำรวจพบว่าความชุกของโรคความดันโลหิตสูงในประชากรอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป เพิ่มขึ้น จากร้อยละ 21.4 ในปี 2552 เป็นร้อยละ 24.7 ในปี 2557 พฤติกรรมเสี่ยงสำคัญที่สนับสนุนให้ความดันโลหิตเพิ่ม สูงขึ้น คือ การกินเค็ม (เกลือ/โซเดียม) ซึ่งพบว่า คนไทยบริโภคเกลือเฉลี่ย 10.8 กรัมต่อวัน (โซเดียม 5,000 มิลลิกรัม) ซึ่งสูงกว่าความต้องการที่ร่างกายควรได้รับถึง 1 เท่า คือ ควรบริโภคเกลือไม่เกิน 5 กรัมต่อวัน (โซเดียม 2,400 มิลลิกรัม) การศึกษาในพื้นที่อำเภอบางพลีสมุทรปราการโดยภาควิชาอายุรศาสตร์ร่วมกับภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชนคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีพบว่าการให้ความรู้อย่างเข้มข้นโดยแพทย์หรือบุคลากรทางการแพทย์ร่วมกับการซักถามการบริโภคอาหารย้อนหลังและแนะนำการลดบริโภคอาหารเค็ม (โซเดียม) อย่างถูกต้องและสม่ำเสมอทุก 2 สัปดาห์ ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงนั้น ส่งผลให้ความดันโลหิตตัวบนลดลงได้ 10 มิลลิเมตรปรอท และตัวล่างลดลงถึง 5 มิลลิเมตรปรอท
ปัจจุบันในตำบลปูยุด พบผู้ที่เป็นความดันโลหิตสูง 3 ปีย้อนหลังดังนี้ ปี 2563,2564,2565 พบผู้ป่วย 504 คน ,519 คน,516 คน ตามลำดับ มีกลุ่มเสี่ยงสูงโรคความดันโลหิตสูง 3 ปี ย้อนหลัง ดังนี้134 คน,235คน,143คน มีอัตราป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้น จากปัญหาดังกล่าว รพ.สต.ปูยุด จึงจัดทำโครงการโครงการลดเค็ม ลดโซเดียม เจ็ดวันความดันฯลด เพื่อสนับสนุนการปรับพฤติกรรมการกิน โดยคาดหวังว่าจะช่วยลดอัตราป่วยรายใหม่ด้วยโรคความดันโลหิตสูง และช่วยลดค่าความดันโลหิตในกลุ่มเสี่ยงสูง จนควบคุมความดันโลหิตได้หรือเป็นปกติ
-
1. 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสูงมีความรู้และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายให้ความร่วมมือและสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสามารถควบคุมความดันโลหิตให้อยู่ในกลุ่มปกติร้อยละ 30ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
2. 2.เพื่อลดการเกิดอัตราป่วยรายใหม่ในกลุ่มเสี่ยงสูงตัวชี้วัด :ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
3. 3.เพื่อควบคุมความดันโลหิตในกลุ่มกลุ่มเสี่ยงสูงตัวชี้วัด :ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
4. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลงขนาดปัญหา 21.57 เป้าหมาย 18.00
-
5. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลงขนาดปัญหา 7.59 เป้าหมาย 5.00
- 1. ประชาสัมพันธ์รับสมัครกลุ่มเสี่ยงสูงเข้าร่วมโครงการลดเค็ม ลดโซเดียม เจ็ดวันความดันฯลดรายละเอียด
- ค่าทำป้ายโครงการ 1.5 เมตร*2.5เมตร ตร.ม.ละ 300 บาท เป็นเงิน 1,125 บาท
งบประมาณ 1,125.00 บาท - 2. อบรมให้ความรู้ โดยนัดกลุ่มเสี่ยงสูงเป็นกลุ่มๆละ 35 คน ไปพบกันที่ Health station ของหมู่บ้าน/ตำบล หรือห้องประชุมของ อปท.หรือที่ รพ./รพ.สต.เพื่อให้ความรู้แบบเข้มข้นเพื่อลดการบริโภคโซเดียม และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพรายละเอียด
- ค่าอาหารกลางวัน 70 คน (2รุ่นๆละ 35) x 70 บาท x 1 วัน เป็นเงิน 4,900 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 70 คน (2รุ่นๆละ 35) x 30บาท x 2 มื้อ x 1วัน เป็นเงิน 4,200 บาท
- ค่าถ่ายเอกสารและเข้าเล่ม(คู่มือ) 70 ชุดๆละ 30 บาท เป็นเงิน 2,100 บาท
- วัสดุอุปกรณ์สำหรับจัดอบรม และผู้เข้าร่วม (สมุด ปากกา กระดาษ)เป็นเงิน 1,400บาท
งบประมาณ 12,600.00 บาท - ค่าอาหารกลางวัน 70 คน (2รุ่นๆละ 35) x 70 บาท x 1 วัน เป็นเงิน 4,900 บาท
- 3. วัดความดันโลหิต และชั่งน้ำหนักติดต่อกัน 7 วัน และติดตามทุกๆ 2 สัปดาห์รายละเอียด
- วัสดุอุปกรณ์สำหรับจัดอบรม และผู้เข้าร่วม
(สมุด ปากกา กระดาษ) เป็นเงิน 1,400 บาท
- ค่าเครื่องวัดความดันฯ จำนวน 7 เครื่อง ๆ ละ 3,500 บาท เป็นเงิน 24,500 บาท
- ค่าเครื่องชั่งน้ำหนัก จำนวน 7 เครื่อง เครื่อง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 4,200 บาท
งบประมาณ 28,700.00 บาท - วัสดุอุปกรณ์สำหรับจัดอบรม และผู้เข้าร่วม
(สมุด ปากกา กระดาษ) เป็นเงิน 1,400 บาท
ตั้งแต่ วันที่ 2 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กรกฎาคม 2566
ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
รวมงบประมาณโครงการ 42,425.00 บาท
- กลุ่มเสี่ยงสูงที่สามารถลดความดันโลหิตให้อยู่ในกลุ่มปกติได้ ร้อยละ 30
- กลุ่มเสี่ยงสูงมีความพึงพอใจร้อยละ 80
- กลุ่มเสี่ยงสูงมีค่าเฉลี่ยของความดันฯลดลงหลังการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโซเดียม
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด รหัส กปท. L3017
อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด รหัส กปท. L3017
อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................