กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการค้นหาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงโรคความดันและเบาหวาน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา

ศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลตะโละแมะนา

1.นางภัทรพร รัตนซ้อน
2.นางกัลยา สุวรรณรัตน์
3.นายรุซฟัยซาล อุเมะ
4.นางฮัสตานีย๊ะ หามาลา
5. นางสาวนูรฮูดา สารี

ชุมชนตำบลตะโละแมะนา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

 

0.20
2 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

 

0.20
3 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

0.10
4 ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

0.10
5 ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

 

0.10
6 ร้อยละของคนที่มีการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน

 

0.10
7 ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

 

0.10
8 ร้อยละของสำนักงานหรือหน่วยงานราชการ ที่มีกิจกรรมส่งเสริมกิจกรรมทางกาย เช่น การออกกำลังกาย การมีการเคลื่อนไหวระหว่างการทำงาน

 

0.10

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.1 เพื่อค้นหาผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน 1.2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 1.3 เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการดูแลที่ถูกต้องเหมาะสม

1.1 ร้อยละ 9๐ ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน 1.2 ร้อยละ 80 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 1.3 ร้อยละ ๑๐๐ กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูงได้รับได้รับการดูแลรักษาตาม

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2023

กำหนดเสร็จ 31/03/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ๑. กิจกรรมตรวจคัดกรองสุขภาพ วัดความดัน ตรวจน้ำตาลในเลือด ในประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ๒. กลุ่มเสี่ยงนำเข้ากิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม - ให้ความรู้เรื่องอาหาร IF ๕ส - การออกกำลังกาย ๓. กลุ่มเสี่ยงเข้ากิจกรรมตรวจวัดความดันซ้ำ (Home BP) ๔. กลุ่มสงสัยป่วยเข้ากิจ

ชื่อกิจกรรม
๑. กิจกรรมตรวจคัดกรองสุขภาพ วัดความดัน ตรวจน้ำตาลในเลือด ในประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ๒. กลุ่มเสี่ยงนำเข้ากิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม - ให้ความรู้เรื่องอาหาร IF ๕ส - การออกกำลังกาย ๓. กลุ่มเสี่ยงเข้ากิจกรรมตรวจวัดความดันซ้ำ (Home BP) ๔. กลุ่มสงสัยป่วยเข้ากิจ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าป้ายโครงการขนาด ๑๐๐x3๐๐ เซนติเมตร            เป็นเงิน 900 บาท
  • ค่าชุดตรวจคัดกรอง  จำนวน 10 ชุดๆละ ๓,๐00 บาท      เป็นเงิน ๓๐,000 บาท ประกอบด้วย
  1. เครื่องวัดความดันโลหิตสูง
  2. เครื่องชั่งน้ำหนักชนิดพกพา
  3. สายวัดรอบเอว
ระยะเวลาดำเนินงาน
3 มีนาคม 2566 ถึง 3 มีนาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรอง ร้อยละ 90

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
30900.00

กิจกรรมที่ 2 ๒. กลุ่มเสี่ยงนำเข้ากิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม - ให้ความรู้เรื่องอาหาร IF ๕ส - การออกกำลังกาย

ชื่อกิจกรรม
๒. กลุ่มเสี่ยงนำเข้ากิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม - ให้ความรู้เรื่องอาหาร IF ๕ส - การออกกำลังกาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมที่ ๒ กิจกรรมปรับเปลี่ยน
ให้ความรู้ อาหาร IF ๕ส จำนวน ๑ ครั้ง -  ค่าอาหารกลางวัน จำนวน ๕๐ คนๆละ ๖๐ บาท จำนวน ๑ มื้อ      เป็นเงิน ๓,๐๐๐ บาท -  ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน ๕๐ คนๆละ ๒๕ บาท จำนวน ๒ ครั้ง  เป็นเงิน ๒,๕๐0 บาท -  ค่าวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท              เป็นเงิน ๓,๖00 บาท ออกกำลังกาย จำนวน ๔ ครั้ง -  ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 20 x 25 x ๔ ครั้ง          เป็นเงิน 2,000 บาท - ค่าวิทยากร ๑ ชั่วโมงๆละ ๓๐๐ บาทx๔ ครั้ง              เป็นเงิน ๑,๒๐๐ บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
6 มีนาคม 2566 ถึง 27 มีนาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 100

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12300.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมติดตามกลุ่มสงสัยป่วย

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมติดตามกลุ่มสงสัยป่วย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน ๒๐ คนๆละ ๒๕ บาท        เป็นเงิน ๕0๐ บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
3 มีนาคม 2566 ถึง 3 มีนาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการติดตาม ร้อยละ 100

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
500.00

กิจกรรมที่ 4 ประเมินผลและคืนข้อมูล

ชื่อกิจกรรม
ประเมินผลและคืนข้อมูล
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน ๕๐ คนๆละ ๖๐ บาท จำนวน ๑ มื้อ      เป็นเงิน ๓,๐๐๐ บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน ๕๐ คนๆละ ๒๕ บาท จำนวน ๒ ครั้ง  เป็นเงิน ๒,๕0๐ บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
31 มีนาคม 2566 ถึง 31 มีนาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ที่เข้าร่วมโครงการได้รับทราบข้อมูลสุขภาพตนเองและสามารถดูแลตนเองได้ ร้อยละ 80

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 49,200.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

สามารถลดการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้


>