กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะเปาะ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการร้านอาหารได้มาตรฐาน ผู้บริโภคปลอดภัย ห่างไกลโรค ปี 2566

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะเปาะ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะเปาะ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะเปาะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 ซึ่งเป็นกฎหมายบัญญัติเกี่ยวกับการควบคุมดูแลเพื่อคุ้มครองประชาชนด้านสุขลัษณะและอนามัยสิ่งแวดล้อมจากการประกอบกิจการที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอนามัยของประชาชน โดยให้อำนาจแก่เจ้าพนักงานท้องถิ่นในการควบคุมดูแลจัดเก็บค่าธรรมเนียมใบอนุญาต การสั่งพักใช้เพื่อเพิกถอนใบอนุญาตและผู้ที่จะดำเนินการประกอบกิจการต้องขออนุญาตต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่นก่อนดำเนินการเพื่อให้เกิดความมั่นใจว่ากิจกรรมดังกล่าวจะไม่ก่อเหตุเดือดร้อนรำคาญหรืออันตรายต่อสุขภาพของประชาชนได้แก่กิจการตลาด ร้านอาหารร้านสะสมอาหาร และกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพที่อาจส่งผลกระทบต่อการแพร่ระบาดของโรคและสุขภาพของประชาชนผู้บริโภค จึงจำเป็นต้องมีการควบคุมหรือกำกับดูแลการประกอบกิจการดังกล่าว
จากการสำรวจข้อมูลร้านอาหาร แผงลอย ในปี 2565 มีร้านจำหน่าวยอาหารทั้งหมด 18 ร้าน เป็นร้านที่ดำเนินการถูกหลักสุขาภิบาลอาหาร จำนวน 15 ร้าน ร้อยละ 83.33 และดำเนินการไม่ถูกหลักสุขาภิบาลอาหาร จำนวน 3 ร้าน ร้อยละ 16.66 สาเหตุเนื่องจากผู้ประกอบอาหาร และผู้สัมผัสอาหารดังกล่าวไม่มีความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหาร ทำให้ร้านอาหารปฏิบัติไม่ได้มาตรฐานตามข้อกำหนด มาตรฐานด้านสุขาภิบาลอาหาร เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว รพ.สต.เกาะเปาะ จึงได้จัดทำโครงการร้านอาหารได้มาตรฐาน ผู้บริโภคปลอดภัย ห่างไกลโรค ปี 2566

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ผู้ประกอบการและผู้สัมผัสอาหาร มีความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหาร

1.ผู้ประกอบการอาหารและผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารร้อยละ 90

30.00 20.00
2 2.เพื่อให้ร้านอาหารมีการปรับปรุงและประเมินผ่าน Clean Food Good Taste

2.ร้านอาหารมีการประเมินผ่าน Clean Food Good Taste ร้อยละ 90

30.00 20.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 70
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/11/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1 สำรวจและรวบรวมข้อมูลร้านอาหาร แผงลอยในเขตตำบลเกาะเปาะ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 สำรวจและรวบรวมข้อมูลร้านอาหาร แผงลอยในเขตตำบลเกาะเปาะ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

สำรวจและรวบรวมข้อมูลร้านอาหาร แผงลอยในเขตตำบลเกาะเปาะ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ประกอบการร้านอาหาร ผู้สัมผัสมีความรู้ในเรื่อง ด้านสุขาภิบาลอาหาร สามารถนำความรู้ที่ได้ไปดูแลปรับปรุงร้านอาหารให้สะอาดถูกหลักสุขาภิบาลอาหาร ทำให้ร้านอาหารผ่านการประเมิน ส่งผลให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่มีคุณภาพและมีความปลอดภัย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 2 อบรมการดำเนินโครงการแก่เจ้าหน้าที่และอสม.

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2 อบรมการดำเนินโครงการแก่เจ้าหน้าที่และอสม.
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมการดำเนินโครงการแก่เจ้าหน้าที่และอสม.

ระยะเวลาดำเนินงาน
28 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ประกอบการร้านอาหาร ผู้สัมผัสมีความรู้ในเรื่อง ด้านสุขาภิบาลอาหาร สามารถนำความรู้ที่ได้ไปดูแลปรับปรุงร้านอาหารให้สะอาดถูกหลักสุขาภิบาลอาหาร ทำให้ร้านอาหารผ่านการประเมิน ส่งผลให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่มีคุณภาพและมีความปลอดภัย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 3 อบรมเรื่องสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้ประกอบการและผู้สัมผัสอาหาร

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 3 อบรมเรื่องสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้ประกอบการและผู้สัมผัสอาหาร
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมเรื่องสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้ประกอบการและผู้สัมผัสอาหาร -ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 70 คน อัตรามื้อละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 3,500 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 70 คน อัตรามื้อละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 3,500 บาท
-ค่าวิทยากร จำนวน 1 คน อัตราคนละ 600 บาท จำนวน 3 ชั่วโมง เป็นเงิน 1,800 บาท
-ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาดกว้าง 1 เมตร ยาว 3 เมตร ราคาเมตรละ 250 บาท จำนวน 1 ผืน เป็นเงิน 750 บาท
-ค่าวัสดุอุปกรณ์ -สมุด+ปากกา จำนวน 70 ชุดๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 2,100 บาท -กระเป๋าใส่สมุด+ปากกา 70 ใบๆ ละ 27 บาท เป็นเงิน 1,890 บาท -กระดาษพลิปชาร์ทจำนวน 20 แผ่นๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 200 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
28 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ประกอบการร้านอาหาร ผู้สัมผัสมีความรู้ในเรื่อง ด้านสุขาภิบาลอาหาร สามารถนำความรู้ที่ได้ไปดูแลปรับปรุงร้านอาหารให้สะอาดถูกหลักสุขาภิบาลอาหาร ทำให้ร้านอาหารผ่านการประเมิน ส่งผลให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่มีคุณภาพและมีความปลอดภัย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
13740.00

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมที่ 4 ตรวจประเมินร้านอาหาร ทางชีวภาพ ด้วยน้ำยา Sl-2

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 4 ตรวจประเมินร้านอาหาร ทางชีวภาพ ด้วยน้ำยา Sl-2
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ตรวจประเมินร้านอาหาร ทางชีวภาพ ด้วยน้ำยา Sl-2

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ประกอบการร้านอาหาร ผู้สัมผัสมีความรู้ในเรื่อง ด้านสุขาภิบาลอาหาร สามารถนำความรู้ที่ได้ไปดูแลปรับปรุงร้านอาหารให้สะอาดถูกหลักสุขาภิบาลอาหาร ทำให้ร้านอาหารผ่านการประเมิน ส่งผลให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่มีคุณภาพและมีความปลอดภัย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมที่ 5 ประชุมถอดบทเรียนการดำเนินโครงการร้านอาหารได้มาตรฐาน ผู้บริโภคปลอดภัยห่างไกล ปี 2566

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 5 ประชุมถอดบทเรียนการดำเนินโครงการร้านอาหารได้มาตรฐาน ผู้บริโภคปลอดภัยห่างไกล ปี 2566
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดประชุมถอดบทเรียน การดำเนินโครงการร้านอาหารได้มาตรฐาน ผู้บริโภคให้ปลอดภัยห่างไกล ปี 2566 แก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง -ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 30 คน อัตรามื้อละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 1,500 บาท
-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 30 คน อัตรามื้อละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 1,500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2566 ถึง 1 มีนาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ประกอบการร้านอาหาร ผู้สัมผัสมีความรู้ในเรื่อง ด้านสุขาภิบาลอาหาร สามารถนำความรู้ที่ได้ไปดูแลปรับปรุงร้านอาหารให้สะอาดถูกหลักสุขาภิบาลอาหาร ทำให้ร้านอาหารผ่านการประเมิน ส่งผลให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่มีคุณภาพและมีความปลอดภัย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 16,740.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ผู้ประกอบการร้านอาหาร ผู้สัมผัสมีความรู้ในเรื่อง ด้านสุขาภิบาลอาหาร สามารถนำความรู้ที่ได้ไปดูแลปรับปรุงร้านอาหารให้สะอาดถูกหลักสุขาภิบาลอาหาร ทำให้ร้านอาหารผ่านการประเมิน ส่งผลให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่มีคุณภาพและมีความปลอดภัย


>