กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันภาวะหลงลืมและภาวะซึมเศร้าในชุมชน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา

ประธานอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านหมู่ที่2

1.นางพนิดา แซะเด็ง เบอร์โทรศัพท์082-483-9277

2.นายเจษฎา เจะอามะห์ เบอร์โทรศัพท์083-185-3788

3.นางสาวอาดีล๊ะห์ โต๊ะดูกอง เบอร์โทรศัพท์064-769-3107

4.นายแวนาบาวี หะยีแวฮามะ เบอร์โทรศัพท์ 061-506-8954

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานสุขภาพจิต

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

จากการลงพื้นที่ในการสำรวจข้อมูลชุมชนแหล่งข้อมูลปฐมภูมิและจากการร่วมสังเกตบริบทของพื้นที่หมู่ที่ 2 บ้านบานาตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี พบว่าในพื้นมีปัญหาสุขภาพต่างๆ ที่ส่งผลต่อสุขภาพร่างกายเป็นอย่างมากทั้งนี้มีประชาชนที่มีภาวะหลงลืมและมีความทรงจำที่เลือนลาง ซึ่งภาวะหลงลืมเป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขที่สำคัญในสังคม เนื่องจากอุบัติการณ์ การเกิดภาวะหลงลืมจะเพิ่มมากขึ้นเมื่ออายุมากขึ้นซึ่งจะมีผลกระทบต่อการดำรงชีวิตและปัญหาที่สำคัญอีกหนึ่งปัญหาคือภาวะซึมเศร้าที่ ซึ่งเกิดจากการวิตกกังวลจากโรคประจำตัว ขาดรายได้และความเครียดสะสมมานาน อาการนอนไม่หลับที่อาจส่งผลต่อภาวะซึมเศร้าที่ตามมา ซึ่งภาวะซึมเศร้าไม่ใช่แค่เพียงผู้ใหญ่เท่านั้นที่เสี่ยงเป็นโรคซึมเศร้า แต่มันสามารถเกิดกับทุกช่วงวัยถ้าหากไม่ได้รับการป้องกันก็จะส่งผลต่อสุขภาพและสามารถนำไปสู่ภาวะซึมเศร้าได้
ในการจัดโครงการนี้เพื่อส่งเสริมและป้องกันให้ประชาชนในชุมชนสามารถช่วยเหลือและพึ่งพิงตนเองให้ได้มากที่สุดและฝึกจัดการปัญหาหาต่างๆเพื่อป้องกันภาวะซึมเศร้าและการหลงลืม โดยวิธีแบบไม่ใช้ยา(Non-pharmacology) อีกทั้ง การแก้ปัญหาทำให้ปัญหาสุขภาพจิตลดลงและลดผลกระทบต่อความเป็นอยู่ของประชาชนในชุมชนมากที่สุดและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและสามารถใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุขต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้คนในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะหลงลืมและภาวะซึมเศร้า

ร้อยละของคนในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะหลงลืมและภาวะซึมเศร้า

15.00
2 เพื่อให้คนในชุมชนทราบถึงแนวทางในการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อป้องกันการเกิดภาวะหลงลืมและภาวะซึมเศร้า

ร้อยละของคนในชุมชนทราบถึงแนวทางในการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อป้องกันการเกิดภาวะหลงลืมและภาวะซึมเศร้า

15.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 04/03/2023

กำหนดเสร็จ 13/03/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมเพื่อวางแผนและดำเนินการประเมินความทรงจำตามแบบประเมินสมรรถภาพความจำและแบบประเมินโรคซึมเศร้าด้วย 9 คำถาม (9Q)

ชื่อกิจกรรม
ประชุมเพื่อวางแผนและดำเนินการประเมินความทรงจำตามแบบประเมินสมรรถภาพความจำและแบบประเมินโรคซึมเศร้าด้วย 9 คำถาม (9Q)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าอาหารกลางวันของผู้ประเมิน จำนวน5 คน X 50 บาท X 1 มื้อ เป็นเงิน250.-บาท

2.ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่มผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 5 คน X 30 บาท เป็นเงิน150.-บาท

3.ค่าวัสดุและเอกสารประกอบการประเมิน เป็นเงิน 710.-บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2566 ถึง 1 มีนาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1110.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับภาวะหลงลืมและภาวะซึมเศร้า - ฝึกทักษะบริหารสมองด้วยเกมส์ต่างๆ เพื่อกระตุ้นกระบวนการคิด ความจำและการสั่งการของสมอง -กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต

ชื่อกิจกรรม
อบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับภาวะหลงลืมและภาวะซึมเศร้า - ฝึกทักษะบริหารสมองด้วยเกมส์ต่างๆ เพื่อกระตุ้นกระบวนการคิด ความจำและการสั่งการของสมอง -กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

2.1 ฝึกทักษะบริหารสมองด้วยเกมส์ต่างๆ เพื่อกระตุ้นกระบวนการคิด ความจำและการสั่งการของสมอง

2.2 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต

2.3 ประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ

  • ค่าอาหารกลางวันจำนวน30 คน X 50 บาท X 1 มื้อ เป็นเงิน 1,500.-บาท

  • ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน30 คน X 30 บาทX 2 มื้อเป็นเงิน 1,800.-บาท

  • ค่าตอบแทนวิทยากรจำนวน1คน X300 บาทX 5 ชั่วโมง เป็นเงิน 1,500.-บาท

  • วัสดุอุปกรณ์สำหรับกิจกรรม (แนบท้าย)เป็นเงิน 6,340.-บาท

  • ป้ายไวนิลโครงการขนาด1X 3 เมตรเป็นเงิน750.-บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
8 มีนาคม 2566 ถึง 8 มีนาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11890.00

กิจกรรมที่ 3 ประชุมเพื่อประเมินสรุปผลการดำเนินโครงการสรุปผลโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ประชุมเพื่อประเมินสรุปผลการดำเนินโครงการสรุปผลโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

3.1 ประเมินความทรงจำตามแบบประเมินสมรรถภาพความจำและแบบประเมินโรคซึมเศร้าด้วย 9 คำถาม (9Q)

3.2 สรุปผล

  • ค่าอาหารกลางวันของผู้ประเมิน จำนวน 5 คน X 50 บาท X 1 มื้อ เป็นเงิน 250.-บาท

  • ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่มผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน5 คน X 30 บาท เป็นเงิน 150.-บาท

  • ค่าอุปกรณ์การประเมิน เป็นเงิน 600.-บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
13 มีนาคม 2566 ถึง 14 มีนาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 14,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.คนในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะหลงลืมและภาวะซึมเศร้า

2.คนในชุมชนทราบถึงแนวทางในการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อป้องกันภาวะหลงลืมและภาวะซึมเศร้า

3.มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชน ทำให้คนในชุมชนได้ทำกิจกรรรมและได้พบปะพูดคุยใกล้ชิดกัน


>