กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสตา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการสูงวัยไร้โรคเยาวชนใส่ใจสุขภาพชุมชนมีสุข

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสตา

ศูนย์เศรษฐกิจพอเพียงบ้านบันนังกูแว

1. นางสาวกามีล๊ะ เฮงดาดาประธานกลุ่ม
2. นายซารูดี สะมะแอรองประธาน
3. นางสาวอามีเน๊าะ แม
4. นางสาวรอฮานี ดาโอะ
5. นางสาวมารีย๊ะ กาเต๊ะ

อ.บันนังสตา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เยาวชนและผู้สูงอายุได้บริโภคผักและอาหารที่ปลอดสารมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงและรู้จักถึงประโยชน์ของสมุนไพร

ผู้เข้าร่วมสามารถนำสมุนไพรมาใช้ในการถนอมอาหารและนำไปใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย สามารถนำไปบริโภคเพื่อใช้การรักษาโรคได้อีกด้วย

0.00
2 เพื่อให้เยาวชนและผู้สูงอายุใช้เวลาทำกิจกรรมร่วมกันให้เกิดประโยชน์มากที่สุด

เยาวชนและผู้สูงอายุให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมได้อย่างดี สร้างความรักความเข้าใจความสมัคคีระหว่างเยาวชนและผู้สูงอายุ

0.00
3 เพื่อให้เยาวชนและผู้สูงอายุ ได้ดำเนินชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง สามารถเพิ่มรายได้ ลดรายจ่ายในครัวเรื่อน

ครอบครัวของผู้เข้าร่วมกิจกรรมการอบรม มีรายได้ที่เพิ่มขึ้น และรายจ่ายลดลง

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 16/08/2022

กำหนดเสร็จ 16/12/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1.ปลูกผัก ปลูกรัก เยาวชนสูงวัยสุขภาพดี 1.1 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปลุกผัก 1.2 ทำน้ำยาอเนกประสงค์

ชื่อกิจกรรม
1.ปลูกผัก ปลูกรัก เยาวชนสูงวัยสุขภาพดี 1.1 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปลุกผัก 1.2 ทำน้ำยาอเนกประสงค์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าเมล็ดพันธุ์ผักบุ้งจำนวน 5 กิโลกรัมๆละ 170 บาท จำนวนเงิน 850 บาท
  • ค่าเมล็ดพันธุ์ผักกาดจำนวน 5 กระป๋องๆละ 150 บาท จำนวนเงิน 750 บาท
  • ค่าพันธ์ุเมล็ดแตงกวา จำนวน 5 กระป๋องๆละ 250 บาท จำนวนเงิน 1,250 บาท
  • ค่าเมล็ดพันธุ์ถั่วฝักยาวจำนวน 5 กระป๋องๆละ 280 บาท จำนวนเงิน 1,400 บาท
  • ค่าเมล็ดพันธุ์มะเขือเทศจำนวน 60 ซองๆละ 25 บาท จำนวนเงิน 1,500 บาท
  • ค่าเมล็ดพันธุ์พริกขี้หนูจำนวน 60ซองๆละ 25 บาท จำนวนเงิน 1,500 บาท
  • ดินปลูก จำนวน 60 ถุงๆละ 25 บาท เป็นจำนวน 1,500 บาท
  • ค่าก้อนเชื้อเห็ดนางฟ้า จำนวน 300 ก้อนๆละ 12 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
  • ค่าชุดน้ำยาล้างจาน จำนวน 5 ชุดๆละ 230 บาท เป็นเงิน 1,150 บาท
  • ค่าขวด 2 แพ็กๆละ 160 บาท เป็นจำนวนเงิน 320 บาท
  • ค่าวิทยากร 1 คน จำนวน 3 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นจำนวนเงิน 1,800 บาท
  • ค่าอาหารว่างจำนวน 30 คน * 25บาท *2 มื้อ เป็นเงิน 1,500 บาท
  • ค่าอาหารกลางวันจำนวน 30คนๆละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 1,500 บาท
  • ค่าป้ายโครงการ 1 ป้าย ขนาด 1*3 จำนวนเงิน 800 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
16 สิงหาคม 2565 ถึง 16 สิงหาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
19420.00

กิจกรรมที่ 2 ปลาดุกแดดเดียวสมุนไพร

ชื่อกิจกรรม
ปลาดุกแดดเดียวสมุนไพร
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ปลาดุก 70 กิโลกรัมๆละ 70 บาท คิดเป็นเงิน 4,900 บาท
  • ใบมะกรูด ครึ่งกิโลกรัม คิดเป็นเงิน 30 บาท
  • ใบเตย 1 กิโลกรัมๆละ 30 บาท คิดเป็นเงิน 30 บาท
  • ขมิ้นชัน 1กิโลกรัมๆละ 40 บาท คิดเป็นเงิน 40 บาท
  • พริกไทยดำ ครึ่งกิโลกรัม คิดเป็นเงิน 200 บาท
  • กระเทียม 5กิโลกรัมๆละ55บาท คิดเป็นเงิน 275 บาท
  • น้ำมัน 3 ขวดๆละ 68 บาท คิดเป็นเงิน 204 บาท
  • น้ำปลา 2 ขวดๆละ 38 บาท คิดเป็นเงิน 76 บาท
  • น้ำตาลทราย 5กิโลกรัมๆละ25 บาท คิดเป็นเงิน 125 บาท
  • ผงชูรสขนาด500กรัม ราคา 60 บาท
  • เกลือป่น 1 แพคๆละ 50 บาท
  • ถุงซีลขนาด 20*30ซม. 1แพคๆละ250 บาท
  • เครื่องซีล 2,000 บาท
  • ถุงมือยาง 5 กล่องๆละ 50 บาท คิดเป็นเงิน 250 บาท
  • ค่าวิทยากรชั่วโมงละ 600 บาท จำนวน 5 ชั่วโมง เป็นเงิน 3,000 บาท
  • ค่าอาหารว่าง 30 ชุดๆละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ คิดเป็นเงิน 1,500 บาท
  • ค่าอาหารเที่ยง 30 ชุดๆละ 50บาท คิดเป็นเงิน 1,500 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
17 สิงหาคม 2565 ถึง 17 สิงหาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
14490.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 33,910.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ผลผลิต คือ ผู้เข้าอบรมจำนวน 30 คน
ผลลัพธ์ คือ มีการเปลี่ยนแปลง คือผู้เข้าอบรมได้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการบริโภคอาหาร และได้มีการดูแลสุขภาพจากการบริโภค มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อมเป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


>