กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

รหัส กปท.

อำเภอ จังหวัด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
ส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลและปลอดภัย (RDU) ในตำบลลางาโดยบูรณาการตามวิถีอัล-อิสลาม
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box
กลุ่มประชาชน
ชมรมแกนนำสร้างเสริมสุขภาพตามวิถีอัล-อิสลามลางา
กลุ่มคน
ชมรมแกนนำสร้างเสริมสุขภาพตามวิถีอัล-อิสลามลางา
1.นางสาวอารีนาอาแวหัวหน้าโครงการ
2.นางนิสากูมาแขกปาทานการเงินโครงการ
3.นางอาแอเส๊าะ มะะประชาสัมพันธ์/ประสานงาน
4.นางสาวรอฮีม๊ะมามะคณะทำงานโครงการ
5.นางไซนับสามะ คณะทำงานโครงการ
6.นางตอยญีบะห์นาแว พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ที่ปรึกษาโครงการ
3.
หลักการและเหตุผล

ในสภาพสังคมปัจจุบันที่ชุมชนมีการขยายตัวและการเข้ามาถึงเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว และผลจากปัญหาเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ทำให้เกิดความไม่เท่าเทียมกันในสังคม การเข้าถึงบริการด้านสุขภาพเพียงอย่างเดียวคงไม่เพียงพอที่จะทำให้ประชาชนทุกคนมี “สุขภาพดี” หรือมี “สุขภาวะ” อีกทั้งการที่ประชากรผู้สูงอายุมีจำนวนมากขึ้น คนในวัยอื่น ๆ ก็มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังมากขึ้น เช่น ขาดการออกกาลังกาย บริโภคอาหารไม่มีประโยชน์ และมีปัญหาความเครียด ประชาชนมีภาวะเจ็บป่วยเรื้อรังเพิ่มมากขึ้น ทำให้มีผู้ป่วยเรื้อรังมากขึ้น ผลคือ สังคมเราในทุกวันนี้มีปัญหาสุขภาพที่เกิดมากขึ้น เนื่องจากภาวะความดันโลหิตสูง น้ำตาลในเลือดสูง คอเลสเตอรอลสูง โรคอ้วน เส้นเลือดในสมองแตก เป็นมะเร็ง เบาหวาน และโรคทางเดินหายใจเรื้อรัง เหล่านี้เป็นปัญหาสุขภาพที่ต้องการ การจัดการอย่างต่อเนื่องผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ควรได้รับการดูแลเป็นพิเศษส่วนใหญ่มักเป็นผู้สูงอายุที่อยู่กับบ้าน ไม่มีญาติคอยให้การดูแลเรื่องการทานยา หรือมีญาติคอยดูแลแต่ไม่มีความรู้ในเรื่องการใช้ยา โดยสรุปปัญหาความไม่ปลอดภัยจากการใช้ยาของคนไทยที่พบบ่อย ได้แก่ การแพ้ยา ใช้ยาเสื่อมคุณภาพ ใช้ยาเกินขนาด หรือการได้รับปริมาณยาในขนาดที่ไม่เหมาะสม เช่น มากไป หรือน้อยไป และการใช้ยาไม่ถูกกับโรค เป็นต้น ประกอบกับความเชื่อแต่ดั้งเดิมที่ไม่ถูกต้องตามหลักการศาสนาของผู้ป่วยและญาติในสังคมมุสลิมในการดูแลตนเองที่ไม่ถูกต้อง ซึ่งปัญหาเหล่านี้ ส่วนหนึ่งอาจเกิดจากความไม่เข้าใจในหลักการศาสนาและพฤติกรรมการใช้ยาที่ไม่เหมาะสมของตัวผู้ป่วยเอง ในอีกมุมอาจเกิดจากระบบสาธารณสุขและการให้ บริการทางเภสัชกรรมที่ทำได้ไม่ทั่วถึง
ลางาเป็นตำบลหนึ่ง ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอมายอ บริบททั่วไปมีลักษณะกึ่งเมือง กึ่งชนบท โดยเฉพาะชุมชนบ้านปาลัส เป็นพื้นที่ชุมชนเมือง มีร้านค้า ร้านสะดวกซื้อและร้านยา รวมทั้งคลินิกหลายร้าน ส่งผลให้การเข้าถึงบริการด้านการใช้ยาของประชาชนในพื้นที่ได้ง่ายและสะดวกขึ้น ซึ่งอาจนำไปสู่การใช้ยาแบบพร่ำเพรื่อย ไม่สมเหตุสมผล ไม่คำนึงถึงผลกระทบต่อสุขภาพที่จะตามมาในอนาคตได้ ส่วนในพื้นที่ชนบท ที่อยู่ด้านใน ประชาชนบางส่วนยังขาดถึงความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy, HL) มีการใช้ยาชุด สมุนไพรลูกกลอน หรือการใช้บริการจากหมอบ้านที่ขาดมาตรฐานทางด้านสาธารณสุข ซึ่งอาจนำพาสู่ภัยทางสุขภาพตามมาได้ สอดคล้องกับพื้นที่โดยรวมของตำบลที่มีประชากรนับถือศาสนาอิสลามร้อยละ 100 มีวิถีปฏิบัติและขนบธรรมเดียวกันและยึดถือตามแนวทางศาสนาอิสลามเป็นหลัก จำเป็นต้องมีการสนับสนุน ส่งเสริมให้ชุมชนมีความเข้มแข็งในด้านการใช้ยาอย่างปลอดภัยโดยนำศาสนาเป็นศูนย์กลางในการปฏิบัติ ชมรมแกนนำสร้างเสริมสุขภาพตามวิถีอัล-อิสลามลางา ได้เล็งเห็นถึงปัญหาของการใช้ยาในชุมชน รวมไปถึงผลกระทบทางสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นในพื้นที่ จึงได้ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลางา ซึ่งเป็นหน่วยงานด้านสาธารณสุขในพื้นที่ จัดทำโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อให้ชุมชนและประชาชนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองอย่างถูกวิธีตามแนวทางอัล-อิสลามเพื่อส่งผลให้ชุมชน ผู้ป่วย/ผู้รับบริการในพื้นที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพือให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง)และผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจในการใช้ยาที่ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้ดูแลมีความรู้ในการปฏิบัติตัวเอง ใช้ยารักษาโรคอย่างถูกต้อง เหมาะสม ไม่ใช้ยาพร่ำเพรื่อ และลดอัตาการเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น โรคไต โรคตับ เป็นต้น
    ขนาดปัญหา 50.00 เป้าหมาย 50.00
  • 2. เพื่อพัฒนาสมรรถนะเครือข่ายและอสม.ในการเป็นพี่เลี้ยง RDU ในชุมชน
    ตัวชี้วัด : เครือข่ายและอสม.มีความรู้เรื่อง RDU ชุมชน ทำแบบประเมินได้มากกว่าร้อยละ 80 และสามารถเป็นพี่เลี้ยงให้ความรู้ ส่งต่อข้อมูลในชุมชนได้
    ขนาดปัญหา 50.00 เป้าหมาย 50.00
  • 3. เพื่อพัฒนาเครือข่ายในชุมชน ร้านค้า โรงเรียนให้มีความรู้ในการซื้อ-ขายยาอย่างถูกต้อง เหมาะสม ไม่เกิดภัยสุขสุขภาพต่อชุมชน
    ตัวชี้วัด : เครือข่ายมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่อง RDU มากกว่าร้อยละ 80และเกิดเครือข่าย RDU ในชุมชน
    ขนาดปัญหา 50.00 เป้าหมาย 50.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. โรงเรียน RDU ในผู้ป่วย HTDM เพื่อการใช้ยาอย่างถูกต้อง เหมาะสม ครั้งที่ 1
    รายละเอียด

    เวทีให้ความรู้ -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 50 คน x 25 บาท x 2 มื้อ = 2,500 บาท -ค่าอาหารกลางวัน 50 คน x 50 บาท x 1 มื้อ = 2,500 บาท -ค่าวิทยากรแบบเหมาจ่าย 1 ท่านๆละ = 1,200 บาท

    งบประมาณ 6,200.00 บาท
  • 2. โรงเรียน RDU ในผู้ป่วย HTDM เพื่อการใช้ยาอย่างถูกต้อง เหมาะสม ครั้งที่ 2
    รายละเอียด

    ลงพื้นที่ติดตามในพื้นที่ร่วมกับเครือข่ายและอสม.

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 3. โรงเรียน RDU ในผู้ป่วย HTDM เพื่อการใช้ยาอย่างถูกต้อง เหมาะสม ครั้งที่ 3
    รายละเอียด

    เวทีติดตามผล ประเมินผลลัพธ์ -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 50 คน x 25 บาท x 2 มื้อ = 2,500 บาท -ค่าอาหารกลางวัน 50 คน x 50 บาท x 1 มื้อ = 2,500 บาท -ค่าวิทยากรแบบเหมาจ่าย 1 ท่านๆละ = 1,200 บาท

    งบประมาณ 6,200.00 บาท
  • 4. พัฒนาสมรรถนะเครือข่ายและอสม.ในการเป็นพี่เลี้ยง RDU ในชุมชน
    รายละเอียด

    เวทีอบรม -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 50 คน x 25อบาท x 2 มื้อ = 2,500 บาท -ค่าอาหารกลางวัน 50 คน x 50 บาท x 1 มื้อ = 2,500 บาท -ค่าวิทยากรแบบเหมาจ่าย 1 ท่านๆละ = 1,200 บาท -ค่าถ่ายเอกสารเพื่อประกอบการอบรม = 2,000 บาท ลงพื้นที่ติดตามผู้ป่วยและให้ความรู้ในชุมชนเพื่อให้ประชาชนเข้าถึงความรู้ RDU -ค่าไวนิลจัดนิทรรศการให้ความรู้ในชุมชนทั้ง 7 หมู่บ้านๆ 1 ชุดๆละ 1,000 บาท = 7,000 บาท

    งบประมาณ 15,200.00 บาท
  • 5. พัฒนาเครือข่ายในชุมชน ร้านค้า โรงเรียนให้มีความรู้ในการซื้อ-ขายยาอย่างถูกต้อง เหมาะสม ไม่เกิดภัยสุขสุขภาพต่อชุมชน
    รายละเอียด

    พัฒนาเครือข่ายในชุมชน ร้านค้า โรงเรียนให้มีความรู้ในการซื้อ-ขายยาอย่างถูกต้อง เหมาะสม ไม่เกิดภัยสุขสุขภาพต่อชุมชน 3.1 ประชุมเชิงปฏิบัติการร้านค้าในชุมชน -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 32 คน x 25 บาท x 2 มื้อ = 1,600 บาท -ค่าอาหารกลางวัน 32 คน x 50 บาท x 1 มื้อ = 1,600 บาท -ค่าวิทยากรแบบเหมาจ่าย 1 ท่านๆละ = 1,200 บาท 3.2 ประชุมเชิงปฏิบัติการแกนนำนักเรียนในพื้นที่ -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 50 คน x 25 บาท x 2 มื้อ = 2,500 บาท -ค่าอาหารกลางวัน 50 คน x 50 บาท x 1 มื้อ = 2,500 บาท -ค่าวิทยากรแบบเหมาจ่าย 1 ท่านๆละ = 1,200 บาท -ค่าถ่ายเอกสารเพื่อประกอบการอบรม = 2,000 บาท

    งบประมาณ 12,600.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 30 กันยายน 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

ตำบลลางา

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 40,200.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.ลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนด้านการใช้ยาในกลุ่มป่วยโรคเรื้อรัง (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง) 2.คณะกรรมการชมรมฯและอสม.ตำบลลางามีสมรรถนะในการเป็นผู้นำด้านสุขภาพ สามารถเป็นต้นแบบชุมชนด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุ สมผลและมีความปลอดภัยในชุมชน 3.ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุ สมผลและสามารถใช้ยาอย่างปลอดภัยในชุมชน 4.เครือข่ายและร้านค้าในชุมชนมีความรู้ในเรื่องยาสามัญและยาควบคุมพิเศษ ให้ความร่วมมือกับรพ.สต.ในการลดความเสี่ยงจากการใช้ยาพร่ำเพรื่อในชุมชน

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

รหัส กปท.

อำเภอ จังหวัด

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการ
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

รหัส กปท.

อำเภอ จังหวัด

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 40,200.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................