แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุโบะ รหัส กปท. L3011
อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
วัณโรคเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทย องค์กรอนามัยโลกจัดลำดับให้ประเทศไทยเป็น 1 ใน 14 ประเทศที่มีปัญหาวัณโรคสูงที่มีการติดเชื้อเอชไอวี (TB/HIV) และวัณโรคดื้อยาหลายขนาน (MDR-TB)โดย ปี พ.ศ.2559 องค์การอนามัยโลกกำหนดยุทธศาสตร์ยุติวัณโรคมีเป้าหมายลดอุบัติการณ์วัณโรคให้ต่ำกว่า 10 ต่อแสนประชากร ภายในปี พ.ศ. 2578 โดยประเทศไทยได้กำหนดแผนปฏิบัติการระดับชาติ ด้านการต่อต้านวัณโรค เพื่อลดอุบัติการณ์วัณโรค การเร่งรัดการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคให้ครอบคลุม โดยให้ กลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรอง และได้รับการวินิจฉัยด้วยวิธีการตรวจที่รวดเร็ว
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะลุโบะ ตระหนักถึงปัญหาและเล็งเห็นความสำคัญและสอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขเพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรองที่ถูกต้องรวมทั้ง การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องวัณโรคแก่ชุมชน และดำเนินการเร่งรัดการค้นหาผู้ที่มีอาการเข้าข่ายเป็นผู้ป่วยติดเชื้อวัณโรครายใหม่ ได้แก่ ผู้สัมผัสโรคที่อยู่ร่วมบ้าน ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้ ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง และบุคลากรสาธารณสุข ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะลุโบะ โดยเน้นให้มีการตรวจเอ็กเรย์ปอด และหากพบมีความผิดปกติต้องได้รับการส่งต่อเพื่อเข้ารับการรักษาโดยเร็ว เพื่อลดการแพร่เชื้อของโรควัณโรคในชุมชน อีกทั้งติดตามผู้ป่วยวัณโรคให้มารับตามนัดและกินยาถูกต้องครบถ้วนเพื่อลดการเกิดการดื้อยาและรักษาไม่สำเร็จ โดยมุ่งเน้น “ค้นให้พบ จบด้วยหาย”
-
1. เพี่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เกี่ยวกับวัณโรค ชี้แจงแบบคัดกรองและค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ในชุมชนได้อย่างรวดเร็วทันเวลาตัวชี้วัด : สามารถค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในชุมชนได้อย่างรวดเร็วทันเวลา ร้อยละ 90ขนาดปัญหา 0.00 เป้าหมาย 90.00
-
2. เพื่อคัดกรองกลุ่มเสี่ยงทั้ง 7 กลุ่มได้อย่างครอบคลุมตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงทั้ง 7 กลุ่มได้รับการคัดกรองอย่างครอบครัว ร้อยละ 90ขนาดปัญหา 0.00 เป้าหมาย 90.00
-
3. เพื่อพัฒนาระบบติดตามควบคุมวัณโรคโดยการเยี่ยมบ้านผู้ป่วย และการส่งต่อผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพตัวชี้วัด : ระบบติดตามควบคุมวัณโรคโดยการเยี่ยมบ้านผู้ป่วย และสามารถส่งต่อผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ ร้อยละ 90ขนาดปัญหา 0.00 เป้าหมาย 90.00
- 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้รายละเอียด
-ค่าแบบฟอร์มประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม ชุดละ 2 บาท จำนวน 200 ชุด เป็นเงิน 400 บาท รวมเป็นเงิน 400บาท
- ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1*3 เมตร จำนวน 1 ป้าย ราคาเมตรละ 300 บาท
เป็นเงิน 900 บาท
-ค่าอาหารกลางวันสำหรับ ผู้เข้าอบรม (พร้อมผู้จัดอบรม) 100 คน คนละ 50บาท 1 มื้อ 1 วัน เป็นเงิน 5,000 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าอบรม 100 คน คนละ 35 บาท2 มื้อ เป็นเงิน 7,000 บาท
- คู่มือการอบรม 100 ชุด ชุดละ 50 บาทรวม 5,000 บาทงบประมาณ 18,300.00 บาท - 2. ตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงทั้ง 7 กลุ่มรายละเอียด
-
งบประมาณ 0.00 บาท - 3. ฝึกปฏิบัติการคัดกรองและค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในชุมชนรายละเอียด
-
งบประมาณ 0.00 บาท
ตั้งแต่ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
พื้นที่ตำบลตะลุโบะ
รวมงบประมาณโครงการ 18,300.00 บาท
- ผู้ป่วยวัณโรคได้รับการดูแลตามแนวทางการดำเนินงานควบคุมวัณโรคแห่งชาติ (NTP)
- แกนนำ มีบทบาทหน้าที่ในการดำเนินงานป้องกันวัณโรคและเยี่ยมบ้านติดตามผู้ป่วย และการส่งต่อผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ
- การค้นหาและคัดกรองผู้ป่วยวัณโรคเชิงรุกมีศักยภาพเพิ่มขึ้น
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุโบะ รหัส กปท. L3011
อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุโบะ รหัส กปท. L3011
อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................