กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ นักเรียนกาลูปัง อนามัยดี๊ดี ไม่มีเหา ประจำปี 2566

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง

รพ.สต.กาลูปัง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

โรคเหา เป็นโรคที่พบบ่อยมากในกลุ่มนักเรียนตั้งแต่ชั้นปฐมวัยจนถึงประถมศึกษาโดยเฉพาะนักเรียนหญิง เกิดจากการไม่รักษาความสะอาดของร่างกาย เครื่องนอน เป็นโรคที่น่ารังเกียจ สำหรับคนทั่วไปนอกจากก่อให้เกิดความรำคาญกับผู้ที่เป็นเนื่องจากมีอาการคันศีรษะแล้วยังทำให้เสียสมาธิในการเรียน เสียบุคลิกภาพ เนื่องจากคันหนังศีรษะ ก่อให้เกิดความรำคาญแก่ผู้ที่เป็น และยังเป็นพาหะนำไปติดผู้อื่นต่อไป วิธีการรักษาเหา จะต้องทำการรักษาผู้ที่เป็นเหาและผู้ที่อยู่ใกล้ชิดควบคู่กันไป โดยต้องทำการควบคุมไม่ให้เหาแพร่กระจาย และป้องกันไม่ให้เกิดการติดเหาซ้ำโดยใช้ยาเพื่อฆ่าเหาซึ่งวิธีการรักษาเหาในรูปแบบดังกล่าวเป็นวิธีที่ทำได้ง่าย และเห็นผลชัดเจน นอกจากนี้ยังพบว่าใบน้อยหน่าสามารถกำจัดเหาได้ดีมาก โยไม่เป็นอันตรายและไม่มีอาการแพ้เหมือนใช้สารเคมี ซึ่งเป็นอันตรายต่อชีวิตได้ และอีกทั้งเป็นการส่งเสริมให้ผู้ปกครองและนักเรียนได้รู้จักใช้ภูมิปัญญาละสมุนไพรท้องถิ่นในการรักษาเด็กที่เป็นเหาและลดการระบาดโรคเหาต่อไป
ดังนั้นเพื่อรักษาและป้องกันการแพร่กระจายของโรคเหาในเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านกาลูปัง ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาลูปัง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการกำจัดโรคเหา จึงได้จัดทำโครงการนักเรียนกาลูปัง อนามัยดี๊ดี ไม่มีเหา ประจำปี 2566 ขึ้นมา

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อสร้างแกนนำที่มีส่วนร่วมในการแก้ไชปัญหาโรคเหาในนักเรียน 2. เพื่อให้ความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับโรคเหา การดูแลตนเองและรักษาโรคเหา 3. เพื่อรักษาและควบคุมการระบาดของโรคเหาในเด็กนักเรียน

1.ร้อยละ 90 แกนนำนักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับโรคเหา 2. ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการจำจัดเหา โดยเวชภัณฑ์ยาอย่างถูกวิธี 3. ร้อยละ 70 ของกลุ่มเป้าหมายไม่มีการกลับเป็บซำ้ของโรคเหา ภายในเวลา 1 ภาคเรียนการศึกษา

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้

ชื่อกิจกรรม
การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.เขียนโครงการและกำหนดแผนปฏิบัติงาน และติดต่อประสานงานกับองค์การบริหารส่วนตำบล กาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา     2. ประชาสัมพันธ์โครงการ ขั้นดำเนินการ     1. .จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการกำจัดเหา     2. อบรมเชิงปฏิบัติการกิจกรรมเหาหายสบายหัวแก่แกนนำนักเรียน     3. ประเมินความรู้เรื่องโรคเหาสำหรับนักเรียนที่เป็นเหาและแกนนำนักเรียน           4. ประสานโรงเรียนจัดทำหนังสือแจ้งการเป็นเหา โดยขออนุญาตผู้ปกครองกำจัดเหา     5. ดำเนินการสาธิตการกำจัดเหาแก่นักเรียนที่มีเหา โดยเวชภัณฑ์ยาอย่างถูกวิธี     6. การเยี่ยมติดตามพฤติกรรมการรักษาความสะอาดของนักเรียน โดยครู/แกนนำสุขภาพ/เจ้าหน้าที่งานอนามัย     ขั้นประเมินผล     สรุปและรายงานผลการดำเนินการ จากงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพ.....ตำบลกาลูปัง.........................................
จำนวน .......10,000............................ บาท (....หนึ่งหมื่นบาทถ้วน....................) รายละเอียด  ดังนี้     6.1  ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 70 คนๆ ละ2 มื้อ25 บาท      เป็นเงิน  ....3,500.............  บาท     6.2  ค่าอาหารกลางวันจำนวน 70 คนๆ ละ 1 มื้อ70 บาท          เป็นเงิน  .....4,900............  บาท     6.3  ค่าวิทยากร  1 ท่าน 400 บาท/ ชม *4ชม              เป็นเงิน  .....1,600.............  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. นักเรียนสามามารถดูแลรักษาความสะอาดร่างกายของตนเองได้ถูกต้อง
  2. นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับโรคเหา การดูแลตนเองและรักษาโรคเหาได้
  3. ไม่มีการเกิดเหาในนักเรียนรายใหม่
  4. นักเรียนมีสมาธิในการเรียนเพิ่มขึ้น มีบุคลิกภาพดีขึ้น
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 10,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. นักเรียนสามามารถดูแลรักษาความสะอาดร่างกายของตนเองได้ถูกต้อง
2. นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับโรคเหา การดูแลตนเองและรักษาโรคเหาได้
3. ไม่มีการเกิดเหาในนักเรียนรายใหม่
4. นักเรียนมีสมาธิในการเรียนเพิ่มขึ้น มีบุคลิกภาพดีขึ้น


>