กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการ นักเรียนกาลูปัง อนามัยดี๊ดี ไม่มีเหา ประจำปี 2566
รหัสโครงการ 66-l4155-01-010
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.กาลูปัง
วันที่อนุมัติ 31 มกราคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 10,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวสาวีย๊ะ เจ๊ะหะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มี.ค. 2566 30 ก.ย. 2566 10,000.00
รวมงบประมาณ 10,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคเหา เป็นโรคที่พบบ่อยมากในกลุ่มนักเรียนตั้งแต่ชั้นปฐมวัยจนถึงประถมศึกษาโดยเฉพาะนักเรียนหญิง เกิดจากการไม่รักษาความสะอาดของร่างกาย เครื่องนอน เป็นโรคที่น่ารังเกียจ สำหรับคนทั่วไปนอกจากก่อให้เกิดความรำคาญกับผู้ที่เป็นเนื่องจากมีอาการคันศีรษะแล้วยังทำให้เสียสมาธิในการเรียน เสียบุคลิกภาพ เนื่องจากคันหนังศีรษะ ก่อให้เกิดความรำคาญแก่ผู้ที่เป็น และยังเป็นพาหะนำไปติดผู้อื่นต่อไป วิธีการรักษาเหา จะต้องทำการรักษาผู้ที่เป็นเหาและผู้ที่อยู่ใกล้ชิดควบคู่กันไป โดยต้องทำการควบคุมไม่ให้เหาแพร่กระจาย และป้องกันไม่ให้เกิดการติดเหาซ้ำโดยใช้ยาเพื่อฆ่าเหาซึ่งวิธีการรักษาเหาในรูปแบบดังกล่าวเป็นวิธีที่ทำได้ง่าย และเห็นผลชัดเจน นอกจากนี้ยังพบว่าใบน้อยหน่าสามารถกำจัดเหาได้ดีมาก โยไม่เป็นอันตรายและไม่มีอาการแพ้เหมือนใช้สารเคมี ซึ่งเป็นอันตรายต่อชีวิตได้ และอีกทั้งเป็นการส่งเสริมให้ผู้ปกครองและนักเรียนได้รู้จักใช้ภูมิปัญญาละสมุนไพรท้องถิ่นในการรักษาเด็กที่เป็นเหาและลดการระบาดโรคเหาต่อไป ดังนั้นเพื่อรักษาและป้องกันการแพร่กระจายของโรคเหาในเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านกาลูปัง ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาลูปัง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการกำจัดโรคเหา จึงได้จัดทำโครงการนักเรียนกาลูปัง อนามัยดี๊ดี ไม่มีเหา ประจำปี 2566 ขึ้นมา

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อสร้างแกนนำที่มีส่วนร่วมในการแก้ไชปัญหาโรคเหาในนักเรียน 2. เพื่อให้ความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับโรคเหา การดูแลตนเองและรักษาโรคเหา 3. เพื่อรักษาและควบคุมการระบาดของโรคเหาในเด็กนักเรียน

1.ร้อยละ 90 แกนนำนักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับโรคเหา 2. ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการจำจัดเหา โดยเวชภัณฑ์ยาอย่างถูกวิธี 3. ร้อยละ 70 ของกลุ่มเป้าหมายไม่มีการกลับเป็บซำ้ของโรคเหา ภายในเวลา 1 ภาคเรียนการศึกษา

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 10,000.00 0 0.00
1 มี.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้ 0 10,000.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. นักเรียนสามามารถดูแลรักษาความสะอาดร่างกายของตนเองได้ถูกต้อง
    1. นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับโรคเหา การดูแลตนเองและรักษาโรคเหาได้
    2. ไม่มีการเกิดเหาในนักเรียนรายใหม่
    3. นักเรียนมีสมาธิในการเรียนเพิ่มขึ้น มีบุคลิกภาพดีขึ้น
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 31 ม.ค. 2566 00:00 น.