กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการจุดเริ่มต้นมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกแห่งชีวิต ปี2566

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลือมุ

1.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลือมุ2. ในชุมชน พื้นที่ หมู่ 1,8,9 ตำบลกรงปินัง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอนามัยแม่และเด็ก

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเตรียมความพร้อมให้คู่สามีภรรยาที่จะเป็นพ่อแม่ที่ดีในอนาคต

ภาวะโละหิตจางในสตรีวันเจริญพันธ์และสตรีตั้งครรภ์ ไม่เกิน ร้อยละ 14

9.80 14.00
2 เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความพิการแต่กำเนิดของทารกในครรภ์

สตรีตั้งครรภ์ทุกคน ได้รับบริการฝากครรภ์คั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ และฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ให้ได้ร้อยละ 80

10.00 80.00
3 เพื่อให้สตรีตั้งครรภ์ทุกคน ได้รับบริการฝากครรภ์คั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ และฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์

มีการส่งต่อหญิงตั้งครรภ์ที่พบ มีภาวะเสี่ยง เพื่อพบแพทย์ เพื่อดูแลเฉพาะราย ร้อยละ 100

10.00 100.00
4 เพื่อให้สตรีตั้งครรภ์ได้รับการประเมิณกายจิตสังคมและได้รับการช่วยเหลือ แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น

สตรีหลังคลอดรับการดูแลสุขภาพหลังคลอดตามเกณฑ์ที่กำหนด มากกว่า ร้อยละ 80

10.00 0.00
5 เพื่อส่งเสริมให้สามีและครอบครัวได้มีบทบาทในการช่วยเหลือดูลแลภรรยาและลูก

สตรีหลังคลอดได้รับการช่วยดูแลหลังคลอดด้วยศตร์การแพทย์แผนไทย ร้อยละ 50

10.00 0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2023

กำหนดเสร็จ 31/08/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1.กิจกรรมประชุมชี้แจงการดำเนินกิจกรรม แก่ จนท.รพ.สต.บ้านลือมุ และสมาชิกชมรมแม่และเด็ก

ชื่อกิจกรรม
1.กิจกรรมประชุมชี้แจงการดำเนินกิจกรรม แก่ จนท.รพ.สต.บ้านลือมุ และสมาชิกชมรมแม่และเด็ก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.กิจกรรมประชุมชี้แจงการดำเนินกิจกรรม แก่ จนท.รพ.สต.บ้านลือมุ และสมาชิกชมรมแม่และเด็ก
ค่าอาหารว่าง จำนวน 1 มื้อ 25 บาท/ 15 คน เป็นเงิน 375 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
23 มีนาคม 2566 ถึง 31 มีนาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เพื่อเตรียมความพร้อมในการดำเนินกิจกรรม ค้นหาหญิงตั้งครรภ์ หญิงวัยเจรญพันธ์ที่พร้อมมีบุตร

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
375.00

กิจกรรมที่ 2 2.กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการ เตรียมความพร้อมคู่สมรส และผู้ที่พร้อมมีบุตร

ชื่อกิจกรรม
2.กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการ เตรียมความพร้อมคู่สมรส และผู้ที่พร้อมมีบุตร
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

2.กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการ
-ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อ70 บาท30 คน เป็นเงิน 2,100 บาท -ค่าอาหารว่าง จำนวน 2 มื้อ25 บาท 30 คน เป็นเงิน 1,500 บาท -ค่าวัสดุในการอบรม เป็นเงิน 2,350 บาท -ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1.22.4 เมตรๆละ250 บาท เป็นเงิน 250 บาท -ค่าวิทยากร  2 คน *300 บาท6 ชม. เป็นเงิน 3,600 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
20 เมษายน 2566 ถึง 20 มีนาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เตรียมความพร้อมคู่สมรส และผู้ที่พร้อมมีบุตร เรื่องการวางแผนครอบครัว การเตรียมความพร้อมในการตั้งครรภ์ จำนวน 20 คน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10270.00

กิจกรรมที่ 3 3.กิจกรรมประชุมเสวนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สตรีตั้งครรภ์

ชื่อกิจกรรม
3.กิจกรรมประชุมเสวนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สตรีตั้งครรภ์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

3.กิจกรรมประชุมเสวนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สตรีตั้งครรภ์ เรื่องการดูแลครรภ์ทั่วไป ครรภ์เสี่ยงและการตั้งครรภ์เสี่ยงสูง จำนวน 40 คน
-ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อ70 บาท * 40 คน เป็นเงิน 2,800 บาท -ค่าอาหารว่าง จำนวน 1 มื้อ 25 บาท40 คน เป็นเงิน 1,000 บาท -ค่าวัสดุในการอบรม เป็นเงิน 2,350 บาท -ค่าป้ายไวนิลโครงการ เป็นเงิน 720 บาท -ค่าวิทยากร 2 คน300 บาท*6 ชม. เป็นเงิน 3,600 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
13 กรกฎาคม 2566 ถึง 13 กรกฎาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชุมเสวนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สตรีตั้งครรภ์ เรื่องการดูแลครรภ์ทั่วไป ครรภ์เสี่ยงและการตั้งครรภ์เสี่ยงสูง จำนวน 40 คน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10470.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 21,115.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

จากแบบประเมิน
1.คู่สามีภรรยาที่แต่งงานใหม่ และคู่ที่พร้อมจะมีบุตร เข้าร่วมโครงการ อย่างน้อย 30 คู่ และสามารถทำคะแนน Posttest ได้ถูกต้องร้อยละ 80
2.สตรีตั้งครรภ์ที่เข้าร่วมโครงการ สามารถทำข้อสอบ Posttest ได้ถูกต้องมากกว่าร้อยละ 80
3.ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความพึ่งพอใจในโครงการ มากกว่าร้อยละ 80
ผลลัพธ์
1.ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ ไม่เกินร้อยละ 14
2.อัตราทารกพิการแต่กำเนิน เท่ากับร้อยละ 0
3.อัตราการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สวัปดาห์ มากกว่าร้อยละ 80
4.อัตราการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณภ์ มากกว่าร้อยละ 80
5.สตรีตั้งครรภ์ทุกราย ได้รับการคัดกรองความเสี่ยงร้อยละ 100
6.สตรีตั้งครรภ์ทุกราย ได้รับการเยี่ยมหลังคลอด มากว่าร้อยละ 80 มารดาหลังคลอดครรภ์เสี่ยงได้รับการเยี่ยมหลังคลอด ร้อยละ 100
7.มารดาหลังคลอด ได้รับบริการด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย มากกว่าร้อยละ 50


>