กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบัน รหัส กปท. L7010

อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการร่วมใจ สูงวัย ฟันดี
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบลสมเด็จพระยุพราชสายบุรี
กลุ่มคน
นางสาวชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์
3.
หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุ จากผลการสำรวจสุขภาพช่องปากแห่งชาติ ครั้งที่ 8 พ.ศ. 2560 ปัญหาสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุไทยอายุ 60-74 ปี พบว่า ผู้มีฟันถาวรใช้งานได้อย่างน้อย 20 ซี่ ร้อยละ 56.1 ผู้มีฟันถาวรใช้งาน 20 ซี่ และมีฟันหลัง 4 คู่สบ ร้อยละ 39.4 มีปัญหาการสูญเสียฟันทั้งปากร้อยละ 8.7 มีความจำเป็นในการใส่ฟันเทียมบางส่วน ร้อยละ 42.6 ความจำเป็นในการใส่ฟันเทียมทั้งปากร้อยละ 2.7 ผู้ที่มีฟันผุที่ยังไม่ได้รับการรักษา ร้อยละ 52.6 และมีรากฟันผุ ร้อยละ 16.5 ส่วนโรคปริทันต์ พบว่า มีการทำลายของอวัยวะปริทันต์ที่อยู่รอบรากฟันหรือมีร่องลึกปริทันต์ร้อยละ 36.3 โดยมีสภาวะปริทันต์อักเสบรุนแรง ร้อยละ 12.2 ส่วนในผู้สูงอายุตอนปลายอายุ 80 - 85 ปีมีการสูญเสียฟันถาวรเพิ่มขึ้น ผู้ที่มีฟันถาวรใช้งานได้อย่างน้อย 20 ซี่ ร้อยละ 22.4 และมีฟันหลังสบกัน 4 คู่สบ ร้อยละ 12.1 ผู้สูญเสียฟันทั้งปากร้อยละ 31.0 มีรากฟันผุร้อยละ 12.5 และมีความจำเป็นต้องใส่ฟันเทียมทั้งปาก ร้อยละ 13.1 จึงเป็นที่มาของแผนงานทันตสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ ประเทศไทย พ.ศ. 2558 - 2565 เล็งเห็นความสำคัญในการแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ ซึ่งกำหนดประเด็นปัญหาสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุไว้ 7 ประเด็นสำคัญ โดยมี 6 ประเด็น ระบุไว้ในรายงานขององค์การอนามัยโลกและมีประเด็นที่เพิ่มเติม ดังนี้
1. การสูญเสียฟันและปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการใส่ฟัน
2. ฟันผุและรากฟันผุ
3. โรคปริทันต์
4. แผลและมะเร็งช่องปาก
5. สภาวะน้ำลายแห้ง
6. ฟันสึก
7. สภาวะช่องปากที่สัมพันธ์กับโรคทางระบบของผู้สูงอายุ นอกจากนี้ จากผลสำรวจการรับรู้และการรับบริการด้านทันตสุขภาพ ด้านการสื่อสารความรู้เกี่ยวกับสุขภาพช่องปาก พบว่า การสื่อสารผ่านบุคลากรสาธารณสุขเป็นช่องทางหลักที่ผู้สูงอายุได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพช่องปากมากที่สุด ร้อยละ 54.7 รองลงมาคือโทรทัศน์และอาสาสมัครสาธารณสุขภาคประชาชนร้อยละ 36.2 และ 17.2 ตามลำดับ ส่วนช่องทางออนไลน์ต่างๆและโปสเตอร์/แผ่นพับ/สิ่งพิมพ์ ยังเข้าถึงผู้สูงอายุได้น้อย ร้อยละ 2.4 และ 4.0 ตามลำดับ
จึงเป็นที่มาของโครงการ ร่วมใจ สูงวัย ฟันดี อันเป็นโครงการซึ่งเกิดจากการร่วมแรงร่วมใจกันของบุคลากรสาธารณสุข ภาคประชาชน และการสนับสนุนจากรัฐ เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มผู้สูงวัยมีสุขภาพช่องปากที่ดีในอนาคต โดยจัดอบรมให้ความรู้กลุ่มอาสาสมัครแกนนำสาธารณสุขภาคประชาชน เกี่ยวกับโรคในช่องปากเบื้องต้น โรคทางระบบที่สอดคล้องกับปัญหาสภาวะช่องปากในผู้สูงอายุ รวมถึงวิธีการดูแลทำความสะอาดช่องปาก ทำให้สามารถเป็นตัวกลางสำคัญในการสื่อสารและเข้าถึงกลุ่มผู้สูงอายุในพื้นที่ได้โดยตรง ทำให้ผู้สูงอายุมีโอกาสได้รับความรู้ที่ถูกต้องจากบุคลากรสาธารณสุข ลดข้อจำกัดของผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพร่างกายและเดินทางลำบาก อันเป็นประโยชน์ต่อการดูแลสุขภาพช่องปากและสุขภาพร่างกายต่อไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1 กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขภาคประชาชน ตำบลตะลุบัน อำเภอสายบุรี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคในช่องปากเบื้องต้น โรคทางระบบที่สอดคล้องกับปัญหาสภาวะช่องปากในผู้สูงอายุ รวมถึงวิธีการดูแลทำความสะอาดช่องปากถูกต้อง 2 กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขภาคประชาชน ตำบลตะลุบัน อำเภอสายบุรี สามารถแปรงฟันและทำความสะอาดอย่างถูกวิธี
    ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 80 ของกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขภาคประชาชน มีคะแนนทดสอบความรู้เพิ่มขึ้นมากกว่าก่อนการอบรม - ร้อยละ 80 ของกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขภาคประชาชน มีคะแนนทดสอบหลังการอบรมมากกว่าร้อยละ 70 - ร้อยละ 100 ของกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขภาคประชาชน ได้รับคำแนะนำ จนสามารถแปรงเพื่อขจัดคราบสีย้อมได้อย่างถูกต้อง
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. บรรยายเรื่อง “ปัญหาสุขภาพช่องปากและวิธีการดูแลรักษา”
    รายละเอียด
    1. บรรยายเรื่อง  “ปัญหาสุขภาพช่องปากและวิธีการดูแลรักษา”
    2. บรรยายเรื่อง “โรคทางระบบกับสภาวะช่องปากผู้สูงอายุ”
      งบประมาณ

    - ค่าวิทยากรบรรยาย (ชั่วโมงละ ๖๐๐ จำนวน 1.5 ชั่วโมง) × 1 วัน x 2 ท่าน = 1,800 บาท
    - ค่าป้ายไวนิล 1 เมตร x 3 เมตร = 600 บาท
    - ค่าวัสดุเครื่องเขียน และอุปกรณ์ทำสื่อ ได้แก่ - แฟ้มใส่เอกสาร 80 เล่ม x 12 บาท = 960 บาท - ปากกา 80 ด้าม x 10 บาท = 800 บาท - กระดาษ A4 180 บาท x 2 รีม = 360 บาท - หมุดยึดไวนิล 1 กล่อง = 75 บาท - ที่เย็บกระดาษ 1 กล่อง = 15 บาท - ที่หนีบกระดาษ no.108 1 กล่อง = 84 บาท - ปากกาหมึกถาวร ด้ามละ 45 บาท x 2 ด้าม
      = 90 บาท - เทปกาวใสหน้ากว้าง 1 ม้วน = 40 บาท - เทปเยื่อกาว 1 ม้วน = 55 บาท - กระดาษสีแบบแข็ง แผ่นละ 15 บาท x 2 = 30 บาท

    งบประมาณ 4,909.00 บาท
  • 2. 3.ย้อมสีฟันและแปรงฟันอย่างถูกวิธี
    รายละเอียด

    ย้อมสีฟันและแปรงฟันอย่างถูกวิธี - ค่าเม็ดสีย้อมฟัน 1,750 บาท - ค่าชุดแปรงสีฟัน (ซองใส่, แปรงสีฟัน, ยาสีฟัน) ชุดละ 60 บาท x 80 คน = 4,800 บาท - แก้วน้ำพลาสติกแถว 80 ใบ x 0.4 บาท = 32 บาท - ค่าวิทยากรกลุ่ม (ชั่วโมงละ 300 จำนวน 4 ชั่วโมง) × 5 คน = 6,000 บาท                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                          - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ชุดละ 25 บาท
    80 ชุด x 2 มื้อ  x 1 วัน = 4,0๐๐ บาท
    - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ชุดละ 25 บาท
    (สำหรับวิทยากรและเจ้าหน้าที่ 7 คน) 7 ชุด x 2 มื้อ  x 1 วัน = 350 บาท - ค่าอาหารกลางวัน ชุดละ 50  บาท
    80 ชุด x 1 มื้อ x 1 วัน = 4,000 บาท
    - ค่าอาหารกลางวัน ชุดละ 50  บาท
    (สำหรับวิทยากรและเจ้าหน้าที่ 7 คน) 7 ชุด x 1 มื้อ x 1 วัน = 350 บาท

    งบประมาณ 21,282.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 30 มิถุนายน 2566 ถึง 30 มีนาคม 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสายบุรี ตำบล ตะลุบัน อำเภอ สายบุรี จังหวัด ปัตตานี

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 26,191.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขภาคประชาชน ตำบลตะลุบัน อำเภอสายบุรี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคในช่องปากเบื้องต้น โรคทางระบบที่สอดคล้องกับปัญหาสภาวะช่องปากในผู้สูงอายุ รวมถึงวิธีการดูแลทำความสะอาดช่องปากถูกต้อง
  2. กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขภาคประชาชน ตำบลตะลุบัน อำเภอสายบุรี สามารถแปรงฟันและทำความสะอาดอย่างถูกวิธี
  3. ผู้สูงอายุในตำบลตะลุบัน อำเภอสายบุรี มีโอกาสได้รับความรู้และคำแนะนำที่ถูกต้องจากกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขภาคประชาชน
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบัน รหัส กปท. L7010

อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบัน
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบัน รหัส กปท. L7010

อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 26,191.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................