กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแพรกหา รหัส กปท. L3324

อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการผู้สูงอายุสดใส ห่างไกลโรคซึมเศร้า
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
งานสาธารณสุขและสิ่่งแวดล้อม สำนักปลัดเทศบาลตำบลแพรกหา
3.
หลักการและเหตุผล

บุคคลเมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุมีการเปลี่ยนแปลงต่างๆเกิดขึ้นมากมายทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสิ่งแวดล้อม ผู้ที่ไม่สามารถปรับตัว ปรับใจต่อการเปลี่ยนแปลงต่างๆเหล่านี้ได้ จึงมีโอกาสเกิดภาวะการเกิดภาวะซึมเศร้าได้มากว่าบุคคลวัยอื่น โดยมีรายงานว่าประมาณร้อยละ 30 ของผู้ที่มีอายุมากกว่า 60 ปีขึ้นไปเคยมีประสบการณ์ของการมีภาวะซึมเศร้าที่รุนแรงอย่างน้อยหนึ่งครั้ง ซึ่งส่งผลต่อสุขภาวะของผู้สูงอายุของผู้สูงอายุเป็นอย่างยิ่ง อย่างไรก็ตาม บุคคลทั่วไปมักเข้าใจว่าภาวะซึมเศร้าเป็นเรื่องธรรมดาของผู้สูงอายุ จึงมักละเลย ไม่สนใจ ทำให้ผู้สูงอายุยิ่งมีความทุกข์ทรมานมากยิ่งขึ้น แต่ในความเป็นจริง ภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุเป็นสิ่งที่สามารถหลีกเลี่ยงหรือป้องกันมิให้เกิดได้ หากผู้สูงอายุได้มีการเตรียม ความพร้อมทั้งทางกาย และจิตใจก่อที่จะเข้าสู่วัยสูงอายุ หรือทราบแนวทางที่สำคัญในการหลีกเลี่ยงหรือป้องกัน รวมทั้งทราบแนวทางการดูแลตนเองเมื่อตกอยู่ในภาวะซึมเศร้า ซึ่งการปฏิบัติดังกล่าวจะช่วยให้ผู้สูงอายุสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ อย่างมีคุณค่า มีความสุข และมีคุณภาพชีวิตที่ดี ในทางตรงกันข้าม หากละเลยหรือปล่อยทิ้งไว้ อาจกลายเป็นโรคซึมเศร้า จนต้องเข้ารับการรักษาจากจิตแพทย์ มิเช่นนั้นอาจเกิดผลเสียหายที่รุนแรงทั้งต่อตัวผู้สูงอายุเองและบุคคลรอบข้าง ปัญหาสุขภาพจิตที่สำคัญของผู้สูงอายุคือภาวะซึมเศร้า เนื่องจากผู้สูงอายุมีปัจจัยหลายอย่างที่ส่งเสริม ให้เกิดภาวะซึมเศร้า ได้แก่ ปัจจัยด้านร่างกาย สภาพร่างกายที่เสื่อมถอยทำให้สมรรถภาพการทำงานของอวัยวะต่างๆลดลง นอกจากนี้ยังมีโรคทางกายหลายอย่างที่มักเกิดในผู้สูงอายุโดยเฉพาะกลุ่มโรคเรื้องรัง ซึ่งโรคต่างๆเหล่านี้ทำให้คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุแย่ลง ปัจจัยด้านสังคมที่สำคัญ ได้แก่ การที่ผู้สูงอายุต้องประสบกับเรื่องกระทบกระเทือนใจหลายอย่าง เช่น การสูญเสียคู่ชีวิต เพื่อนสนิท หรือบุคคลในครอบครัว การเกษียณอายุการทำงาน เป็นต้น นอกจากนี้ผู้สูงอายุบางคนยังต้องเผชิญกับความวิตกกังวลเกี่ยวกับปัญหาด้านเศรษฐกิจ และการยังชีพเนื่องจาก ไม่มีลูกหลานคอยดูแล ภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุเป็นการเจ็บป่วยทางจิตใจชนิดหนึ่งที่ตอบสนองต่อความผิดหวัง ความสูญเสีย หรือการถวิลหาสิ่งที่ขาดหายไป เมื่อเกิดขึ้นแล้วจะทำให้ผู้สูงอายุรู้สึกไม่มีความสุข จิตใจหม่นหมอง หดหู่หมดความกระตือรือร้น เบื่อหน่ายสิ่งต่างๆรอบตัว แยกตัวเอง ชอบอยู่เงียบๆคนเดียว ท้อแท้ บางครั้งมีความรู้สึกสิ้นหวัง มองชีวิตไม่มีค่า มองตนเองไร้ค่า เป็นภาวะต่อคนอื่น ถ้ามีอาการรุนแรงจะมีอันตรายจากการทำร้ายตนเองได้ มีรายงานการฆ่าตัวตายในผู้สูงอายุ ซึ่งพบว่า ร้อยละ 90 มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าอย่างไรก็ตาม มีบางรายที่แสดงออกด้วยการหงุดหงิดโมโหง่าย ทะเลาะกับบุตรหลานบ่อยคั้ง น้อยใจ งานสาธารณุสขและสิ่งแวดล้อม สำนักปลัดเทศบาลตำบลแแพรกหา เล็งเห็นความสวำคัญของผู้สูงอายุ เนื่องจากตอนนี้พบว่า สังคมผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น และผลที่ตามมา คือ สุขภาพจิตของผู้สูงอายุ ส่งผลทำให้เกิดอัตราการฆ่าตัวตายสูงขึ้น งานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม สำนักปลัดเทสบาลตำบลแพรกหา จึงจัดทำโครงการ ผู้สูงอายุ สดใส ห่างไกลโรคซึมเศร้า เพื่อให้ผู้สูงอายุ มีความรู้ ความเข้าใจในโรคซึมเศร้า และรู้จักคิดในเชิงบวกเพื่อให้มีความรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่าต่อครอบครัว สังคม และหันมาใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เพื่อลดและเลี่ยงภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ ขึ้น

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถดูแลตนเองให้ห่างไกลโรคซึมเศร้าได้ทั้งทางร่างกายและจิตใจ
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการ ได้รับความรู้ เรื่อง สาเหตุการเกิดโรค วิธีการรักษา และดูแลตนเอง และคนในครอบครัว
    ขนาดปัญหา 2.14 เป้าหมาย 1.00
  • 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความเชื่อมั่น ในตนเองไม่รู้สึกเป็นภาระบุตรหลาน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการ สามารถ เกิดความมั่นใจในตนเองมากขึ้น
    ขนาดปัญหา 2.17 เป้าหมาย 3.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. กิจกรรมละลายพฤติกรรม”บอลเอฮา”โดยการเล่นเกมส์และตอบคำถาม เพื่อให้เกิดความสนุกสนาน จิตใจแจ่มใสและมีการสร้างสัมพันธภาพที่ดีต่อผู้อื่น
    รายละเอียด

    กิจกรรมละลายพฤติกรรม”บอลเอฮา”โดยการเล่นเกมส์และตอบคำถาม เพื่อให้เกิดความสนุกสนาน จิตใจแจ่มใสและมีการสร้างสัมพันธภาพที่ดีต่อผู้อื่น -ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1.20x2.40 จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 500 บาท -ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 50 คน จำนวน 1 มื้อๆละ 70 บาท เป็นเงิน 3,500 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 50 คน จำนวน 2 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท -ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 4 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท -ค่าวัสดุ/อุปกรณ์ เช่น แฟ้มใส่เอกสาร สมุด ปากกา เป็นเงิน 2,000 บาท ระยะเวลา 1 วัน

    งบประมาณ 10,900.00 บาท
  • 2. กิจกรรมเกมส์บิงโก โดยการเล่นเกมส์เพื่อความสนุกสนานผ่อนคลาย และเพื่อฝึกการใช้มือและแขนในการทำงาน
    รายละเอียด

    -ค่าวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ เป็นจำนวนเงิน 2000 บาท ระยะเวลา 1 วัน

    งบประมาณ 2,000.00 บาท
  • 3. กิจกรรมการทำขนมบัวลอย ดอกเดซี่ จากฝักทอง
    รายละเอียด

    -ค่าวัสดุปกรณ์ต่างๆในการทำขนม เป็นเงิน 2000 บาท

    งบประมาณ 2,000.00 บาท
  • 4. กิจกรรมการวาดรูประบายสี เพื่อฝึกสมาธิในการจดจ่อ การใช้สองมือทำกิจกรรม การทำงานประสานกันของมือและตา การวางแผนการทำงาน การใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก
    รายละเอียด

    -ค่ากระดาษ เป็นเงิน 200 บาท -ค่าสี เป็นเงิน 500 บาท -ค่าอุปกรณ์อื่นๆ เป็นเงิน 500 บาท

    งบประมาณ 1,200.00 บาท
  • 5. กิจกรรมการปลูกผัก
    รายละเอียด

    -ค่าเมล็ดพันธุ์ผัก จำนวน 350 ซอง เป็นเงิน 7,000 บาท

    งบประมาณ 7,000.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 5 เมษายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

ห้องประชุมโรงเรียนปัญญาวุธ (สถานที่อาจมีการเปลี่ยนแปลงกันได้ตามความเหมาะสม)

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 23,100.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.ผู้สูงอายุมีสุขภาพร่างกายและจิตใจ ที่แข็งแรง 2.ผู้สูงอายุมีความเชื่อมั่นในตนเองมากขึ้นและมีความรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่าและมีประโยชน์ต่อสังคมและไม่เป็นภาระขอ บุตรหลาน

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแพรกหา รหัส กปท. L3324

อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแพรกหา
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแพรกหา รหัส กปท. L3324

อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 23,100.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................