กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุโบะ รหัส กปท. L3011

อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการ"ผู้สูงวัยใส่ใจสุขภาพ" ประจำปี2566
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
ชมรมรักสุขภาพตำบลตะลุโบะ
กลุ่มคน
1. นางสาวซัยนับกาเกาะ
2. นายสมันสาเมาะ
3. นางสาวกอฟเซาะ สอเฮาะ
4. นางสาวมารีแยราโมง
5. นางกาสมาอับดุลกาเดร์
3.
หลักการและเหตุผล

ตำบลตะลุโบะกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุจากปัจจัยการลดลงของอัตราเกิดและ อายุขัยเฉลี่ยของประชากรที่ยืนยาวขึ้นขณะเดียวกันผู้สูงอายุก็มีอายุยืนยาวขึ้นอัตราการเพิ่มของจำนวนผู้สูงอายุในปัจจุบัน สูงกว่าของประชากรโดยรวมขณะเดียวกันอัตราการเพิ่มของจำนวนผู้สูงอายุวัยปลายก็สูงกว่าอัตราการเพิ่มของกลุ่มผู้สูงอายุวัยตอนต้นมีผลให้จำนวนและสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุของไทยเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุวัยตอนปลายปัญหาการเพิ่มของจำนวนผู้สูงอายุคาดว่าจะทวีความรุนแรงขึ้นในอีกสิบปีข้างหน้าแม้จะมีอายุเกิน ๖๐ ปีขึ้นไป ร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงไปตามธรรมชาติแต่สภาพจิตใจ ผู้สูงอายุจึงควรให้ความสนใจดูแลสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรงมีคุณภาพชีวิตที่ดีป้องกันการเกิดโรคต่าง ๆ รวมทั้งฟื้นฟูสุขภาพ เมื่อมีภาวะของโรคและควบคุมให้ภาวะของโรคเหล่านั้นมีอาการคงที่ไม่กำเริบรุนแรงหรือเสื่อมถอยมากกว่าเดิมจะทำให้ผู้สูงอายุมีชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่า สามารถทำประโยชน์ให้แก่สังคมและมีความสุขในปั้นปลายของชีวิต การเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสมต่อสุขภาพเป็นเรื่องที่จำเป็น โดยเฉพาะผู้สูงวัยซึ่งเป็นวัย ที่ต้องการพลังงานและสารอาหารแตกต่างจากวัยทำงาน หรือผู้ที่มีสุขภาพร่างกายปกติ เนื่องจากประสิทธิภาพการทำงานที่ลดลงของระบบต่าง ๆ ดังนั้นจึงต้องมีความเข้าใจเรื่องอาหารและโภชนาการ เป็นอย่างดี ซึ่งความต้องการพลังงานและสารอาหารในผู้สูงอายุแต่ละรายก็จะแตกต่างกันไป ขึ้นกับอายุ น้ำหนัก ส่วนสูง และการใช้พลังงานในแต่ละวัน ทั้งนี้พบว่าผู้สูงอายุได้รับอาหารที่ยังไม่ถูกตามหลักโภชนาการซึ่งเป็นอาหารที่เข้าไปสู่ร่างกายแล้วทำให้มีการเจริญเติบโตและการซ่อมแซมส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ดังนั้นการได้อาหารที่จำเป็นเพียงพอและถูกสัดส่วนจึงเป็นสิ่งจำเป็นที่สุดของผู้สูงอายุ เพื่อให้มีสุขภาพที่แข็งแรงเพราะเซลล์ต่างๆของร่างกายเสื่อมสภาพและโรคที่พบมากในผู้สูงอายุคือโรคกระดูกพรุน สาเหตุหลักเกิดจากการดูดซึมของแคลเซียมในผู้สูงอายุลดลงและได้รับแคลเซียมจากอาหารน้อยในแต่ละวัน
ชมรมรักสุขภาพตำบลตะลุโบะ ได้เล็งเห็นความสำคัญจึงดำเนินการจัดกิจกรรมโครงการผู้สูงวัยใส่ใจสุขภาพ เพื่อเป็นการสร้างความรู้ ความเข้าใจการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับโภชนาการให้กับผู้สูงอายุในการดูแลสุขภาพของตนเองและอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจด้านโภชนาการที่เหมาะสม
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘0 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ ความเข้าใจการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับโภชนาการ
    ขนาดปัญหา 0.00 เป้าหมาย 80.00
  • 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เรื่องสมุนไพร การนวดตนเองและการประคบที่ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องสมุนไพร การนวดตนเอง และการประคบที่ถูกต้อง
    ขนาดปัญหา 0.00 เป้าหมาย 80.00
  • 3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถผลิตและใช้ลูกประคบสมุนไพรได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการ ทำลูกประคบ
    ขนาดปัญหา 0.00 เป้าหมาย 80.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. จัดอบรมให้ความรู้ เรื่อง -การดูแลสุขภาพอนามัยของตัวเอง ทั้งด้านโภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจ -ยาและผลิตภัณฑ์และการใช้สมุนไพรในท้องถิ่นที่ถูกต้องและปลอดภัย
    รายละเอียด
    • ค่าวิทยากร  1  คน 3 ช.ม.ๆ  ละ  ๖๐๐.-บาท
                                                เป็นเงิน  1,8๐๐.-บาท
    • ค่าวิทยากรกระบวนการ  ๒  คนๆ 3 ช.ม.ๆ  ละ  2๐๐.-บาท                                 เป็นเงิน 1,2๐๐.-บาท
      -  ค่าอาหารกลางวัน  จำนวน 5๐  คนๆละ  ๕๐.-บาท                       เป็นเงิน  2,5๐๐.-บาท -  ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  จำนวน 5๐ คนๆ ๒  มื้อๆละ  ละ ๓๕ บาท                            เป็นเงิน  3,5๐๐.-บาท -  ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด  กว้าง 1 เมตร  ยาว 3  เมตร  จำนวน  ๑  ผืน                        เป็นเงิน    ๙๐๐.-บาท -  ค่าแผ่นพับ 50 ใบๆ ละ 2 บาท เป็นเงิน  1๐๐.-บาท -  ค่าคู่มือสำหรับการใช้สมุนไพรในท้องถิ่นที่ถูกต้องและปลอดภัย 50 เล่ม เล่มละ 50.-บาท
                                                เป็นเงิน 2,500.-บาท -  ค่าคู่มือยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ 50 เล่ม เล่มละ 50.-บาท
                                                  เป็นเงิน 2,500.-บาท
    • ค่าวัสดุอุปกรณ์                        เป็นเงิน  5,0๐๐.-บาท                                         เป็นเงิน  20,000 บาท
    งบประมาณ 20,000.00 บาท
  • 2. นันทนาการบำบัด
    รายละเอียด

    -ค่าวิทยากร  1  คน 3 ช.ม.ๆ  ละ  ๖๐๐.-บาท
                                            เป็นเงิน 1,8๐๐.-บาท
    -  ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  จำนวน 5๐ คนๆ 1  มื้อๆละ  ละ ๓๕ บาท                          เป็นเงิน  1,75๐.-บาท - ค่าวัสดุอุปกรณ์                    เป็นเงิน  5,0๐๐.-บาท                                         เป็นเงิน  8,๕5๐.-บาท

    งบประมาณ 8,550.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 5 มกราคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

องค์การบริหารส่วนตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 28,550.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ผู้เข้าร่วมอบรมมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงและสามารถใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุข
  2. ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถนำสมุนไพรมาใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสม
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุโบะ รหัส กปท. L3011

อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุโบะ
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุโบะ รหัส กปท. L3011

อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 28,550.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................