กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทรายขาว

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ครอบครัวอบอุ่น วัยรุ่นวัยใส เข้าใจเรื่องเพศ เรียนรู้ป้องกันเอดส์

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทรายขาว

ประธานชมรมคนรักษ์สุขภาพ หมู่ที่ 2

1.ชื่อ นางสมใจ ทองไชย
2.ชื่อ นางสุธิดาชายแก้ว
3.ชื่อ นางกิ่งดาว อินทรสงเคราะห์
4.ชื่อ นางสมนึก ร่วมแก้ว
5.ชื่อ นางไก่ทองหนู

ตำบลทรายขาว

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเด็กวัยรุ่นให้ได้มีความรู้ เป็นการเสริมสร้างความคิดค่านิยมให้กับวัยรุ่นไทยให้รู้จักและเห็นคุณค่าของตัวเอง มีความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร

 

0.00
2 เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นให้ลดลง และเป็นการป้องกันโรคที่เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ เช่น เอช ไอวี ซิฟิลิส เป็นต้น

 

0.00
3 เพื่อให้เยาวชนในพื้นที่มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องหลักคำสอนและนำหลักคำสอนดังกล่าวไปปฏิบัติเพื่อให้สามารถดำรงชีวิตที่ถูกต้อง

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 29/03/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ป้ายไวนิลโครงการขนาด 1.2*2.5 ตรม. จำนวน 1 ป้าย
                                                                         เป็นเงิน      500  บาท
  2. ค่าตอบแทนวิทยากร
              -เจ้าหน้าที่ รพ.โคกโพธิ์  จำนวน 2 ท่าน
                  (5 ชม.* 600 บาท)2 ท่าน                     เป็นเงิน    6,000  บาท

            -คุณเกษียร  อุดมละมุล   ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุข
                   (1 ชม.
    600 บาท )                               เป็นเงิน     600  บาท
              - ผู้นำศาสนา  จำนวน 1  ท่าน
                    (1 ชม.600 บาท )                               เป็นเงิน     600  บาท       3. ค่าวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ ในการอบรม           - สมุด  60 เล่ม    10  บาท                          เป็นเงิน    600    บาท           - ปากกา 60 ด้าม   7  บาท                          เป็นเงิน    420    บาท           - ซองใสใส่เอกสาร 60 อัน อันละ 10 บาท         เป็นเงิน    600    บาท           - กระดาษโรตี   จำนวน 1 โหล                       เป็นเงิน    100    บาท           - ปากกาเมจิก  จำนวน  6   ด้าม                     เป็นเงิน     100   บาท         4. ค่าอาหารกลางวัน            - ผู้เข้าอบรม   (60 คน60 บาท)                  เป็นเงิน    3,600  บาท         5. อาหารว่าง/น้ำดื่ม  2  เบรก (60*25) *2        เป็นเงิน    3,000  บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
29 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
16120.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 16,120.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เยาวชนผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้มีทักษะและมีภูมิคุ้มกันในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศรู้จักและเห็นคุณค่าของตัวเอง มีความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
2. เยาวชนผู้เข้าร่วมโครงการในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมและป้องกันโรคที่มาจากการมีเพศสัมพันธ์ และลดจำนวนการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
3.เยาวชนในพื้นที่มีความรู้/มีความเข้าใจในหลักคำสอนและสามารถนำหลักคำสอนดังกล่าวไปปฏิบัติเพื่อให้สามารถดำรงชีวิตได้อย่างถูกต้อง


>