กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบตก

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการชุมชนร่วมใจ ป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ปี 2566

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบตก

อสม.รพ.สต.บ้านสะโล

ชมรม อสม. รพ.สต.บ้านสะโล
๑. นางสาวเฟายียะห์ มะดีเย๊าะ
๒. นายยาการียา ยูโซะ
๓. นางสาวสุมายดะห์ มามุ
๔. นางสาวนาซีฟ้าห์ ซูซีแว
๕. นางสาวสารีนี ภักดี

รพ.สต.บ้านสะโล

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนอนามัยและสิ่งแวดล้อม

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ๑. หลักการและเหตุผล(ระบุที่มาของการทำโครงการ) โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมาเพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและค

 

115.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการป้องกันและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย
  • กลุ่มเป้าหมายเข้ามามีส่วนร่วม ร้อยละ ๑๐๐
100.00 100.00
2 เพื่อลดอัตราป่วยและไม่มีผู้ป่วยตาย ด้วยโรคไข้เลือดออก
  • อัตราป่วยไม่เกิน ๕๐ ต่อแสนประชากร
0.00
3 เพื่อลดค่า CI HI ในหมู่บ้าน
  • ค่า BI ไม่เกิน ร้อยละ ๕๐ และ ค่า CI  HI ไม่เกินร้อยละ ๑๐
10.00 10.00
4 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทำกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

ชุมชน ๓ ชุมชน มีบ้านสะอาด ปลอดลูกน้ำยุงลาย

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 115
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรม" โชเล่เสียงตามสาย สร้างกระแสป้องกันและเรียนรู้ ป้องกันโรคไข้เลือดออก ๕ป.๑ข.

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรม" โชเล่เสียงตามสาย สร้างกระแสป้องกันและเรียนรู้ ป้องกันโรคไข้เลือดออก ๕ป.๑ข.
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • เสริมแนวทางให้ความรู้เรื่องไข้เลือดออก    - การเฝ้าระวังการเกิดโรคด้วยชุมชน    - วิธีการสำรวจลูกน้ำยุงลาย
  • จัดซื้อยาทากันยุง จำนวน ๒๕๐ ซอง ๆ ละ ๑๐ บาท   เป็นเงิน ๒,๕๐๐ บาท
  • แผ่นพับประชาสัมพันธ์ (แผ่นพับ ๕ป. ๑ข.จำนวน ๑๐๐ แผ่น ๆ ละ ๒๕ บาท เป็นเงิน ๒,๕๐๐ บาท
  • แจกทรายอะเบทที่มีฟอส  เป็นเงิน  -  บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5000.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมเครือข่ายร่วมใจรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย (Big Cleaning Day)ในชุมชน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมเครือข่ายร่วมใจรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย (Big Cleaning Day)ในชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน ๑๑๕ คน ๆ ละ ๒๕ บาท ๒ มื้อ เป็นเงิน ๕,๗๕๐ บาท
  • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน  ๑๑๕ คน ๆ ละ ๕๐ บาท   เป็นเงิน ๕,๗๕๐ บาท
  • ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรม เป็นเงิน ๒,๕๐๐ บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
14000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 19,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ประชาชน ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนาและภาคีเครือข่ายในพื้นที่มีการตื่นตัวและตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออกและมีส่วนร่วมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอและประชาชนมีความรู้ที่สามารถควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดด้วยตนเองได้ มีบ้านสะอาดปลอดลูกน้ำยุงลายทำให้ค่าดัชนีความชุกของลูกน้ำยุงลาย (BI,CI,HI) ลดลงส่งผลให้อัตราป่วยและอัตราตายด้วยโรคไข้เลือดออกอยู่ในระดับที่ไม่เป็นปัญหาทางสาธารณสุข


>