กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบตก

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการร่วมด้วยช่วยกัน ชุมชนปลอดบุหรี่ ปี 2566

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบตก

อสม.รพ.สต.บ้านสะโล

๑. นางสาวเฟายียะห์ มะดีเย๊าะ
๒. นายยาการียา ยูโซะ
๓. นางสาวสุมายดะห์ มามุ
๔. นางสาวนาซีฟ้าห์ ซูซีแว
๕. นางสาวสารีนี ภักดี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานยาสูบ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 การสูบบุหรี่ เป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของการเกิดโรคไม่ติดต่อ โดยเฉพาะโรคมะเร็งปอด ปอดเรื้อรัง โรคหัวใจและหลอดเลือด และในคนไข้เบาหวาน ความดัน และโรคอื่นๆ ซึ่งหากสูบบุหรี่จะมีความเสี่ยงโรคหลอดเลือดทั่วร่างกาย รวมถึงควันบุหรี่มือสองในบ้านของตนเอง จากข้อมูลขอ

 

120.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษภับของบุหรี่เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในพื้นที่กล้าแสดงออกในทางสร้างสรรค์ ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
  • ประชาชนเข้าร่วมกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษภัยของบุหรี่ ร้อยละ ๑๐๐
100.00 100.00
2 เพื่อให้ประชาชนที่สูบบุหรี่ในชุมชน มีจิตสำนึกและตระหนักถึงพิษภัยของบุหรี่ ให้ความร่วมมือในการสร้างพื้นที่ในครอบครัวแห่งรักปลอดบุหรี่
  • ประชาชนมีส่วนร่วมในการสร้างพื้นที่ครอบครัวแห่งรักปลอดบุหรี่      ร้อยละ 60
60.00 60.00
3 เพื่อให้ประชาชนในชุมชนที่สูบบุหรี่ สนใจเลิกบุหรี่และเลิกสูบบุหรี่

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโทษภัยของบุหรี่

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโทษภัยของบุหรี่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 120 คน ๆ ละ ๒๕ บาท ๒ มื้อ เป็นเงิน 6,0๐๐ บาท
  • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 120 คน ๆ ละ 5๐ บาท   เป็นเงิน 6,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 พฤษภาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12000.00

กิจกรรมที่ 2 ๒. กิจกรรมครอบครัวมีส่วนร่วมในการสร้างพื้นที่ในครอบครัวแห่งรักปลอดบุหรี่

ชื่อกิจกรรม
๒. กิจกรรมครอบครัวมีส่วนร่วมในการสร้างพื้นที่ในครอบครัวแห่งรักปลอดบุหรี่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • โปสเตอร์ครอบครัวแห่งรักปลอดบุหรี่ จำนวน  120 แผ่นๆละ ๒๕ บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 พฤษภาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3000.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมประชาสัมพันธ์สู่ชุมชน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมประชาสัมพันธ์สู่ชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • แผ่นผับความรู้โทษภัยบุหรี่ จำนวน 200 แผ่นๆละ ๒๕ บาท  เป็นเงิน 5,000 บาท
  • ป้ายประชาสัมพันธ์ 3 ป้าย เป็นเงิน 1,500 บาท -ป้ายโครงการ 750 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 พฤษภาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7250.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 22,250.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑. ประชาชนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษภัยของบุหรี่
๒. ประชาชนที่สูบบุหรี่ในชุมชน มีจิตสำนึกและตระหนักถึงพิษภัยของบุหรี่ ให้ความร่วมมือในการสร้างพื้นที่ในครอบครัวแห่งรักปลอดบุหรี่
3. ประชาชนในชุมชนที่สูบบุหรี่ สนใจเลิกบุหรี่และเลิกสูบบุหรี่


>