กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามใต้

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเยาวชนรุ่นใหม่อ่อนหวาน อ่อนโรค

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามใต้

ชมรม อสม.ตำบลนาท่ามใต้

1. นางน้องนุช หนูนาค
2. นางจรัส ชอบชูผล
3. นางกันยา อ่อนสนิท
4. นางสุคนธ์ จันทร์เพชร
5. นางวันเพ็ญ ยอดทอง

ตำบลนาท่ามใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

การบริโภคน้ำตาลเกินความเหมาะสมและการทานหวานเป็นประจำจะส่งผลให้เกิดโรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคฟันผุ ซึ่งโรคต่างๆ เหล่านี้เมื่อเป็นแล้วรักษาได้ยาก เกิดภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาเป็นจำนวนมาก กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ได้ร่วมกันรณรงค์ลดพฤติกรรมการบริโภคน้ำตาลในเด็กไทยอย่างต่อเนื่อง ภายใต้การดำเนินงานของ “เครือข่ายเด็กไทยไม่กินหวาน” มาตั้งแต่ปี พ.ศ.2547
ชมรม อสม.ตำบลนาท่ามใต้จึงคิดที่จะดำเนินโครงการเยาวชนรุ่นใหม่อ่อนหวาน อ่อนโรคเพื่อลดปัญหาเด็กฟันผุและสภาวะเด็กอ้วน ซึ่งถือว่าเป็นการสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการให้เด็กเข้าถึงการบริโภคอาหารที่มีน้ำตาลสูง หากเด็กไทยมีการบริโภคอย่างต่อเนื่องก็จะส่งผลเสียต่อสุขภาพได้ จึงได้มีการประสานงานกับทางโรงเรียน/ชมชน เพื่อหาแนวทางในการจัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียน/ชุมชนให้เอื้อต่อการลดการบริโภคน้ำตาล และจัดให้มีการให้ความรู้แก่เยาวชน จัดกิจกรรมโรงเรียนอ่อนหวาน/ร้านอาหารอ่อนหวาน เพื่อลดพฤติกรรมการบริโภคหวานโดยการมีส่วนร่วมของนักเรียนและผู้ปกครอง

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้เยาวชนได้รับความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงภัยจากการบริโภคอาหารหวาน
  • ร้อยละ 90 ของเยาวชนกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้เพิ่มขึ้น
  • ร้อยละ 100 มีแกนนำในการดูแลสุขภาพและสร้างพฤติกรรมการบริโภคได้อย่างถูกต้อง
80.00 80.00
2 ข้อ 2 เพื่อลดปัญหาเด็กอ้วน
  • ร้อยละ 5 เยาวชนมีภาวะโภชนาการสูงดีสมส่วนเพิ่มขึ้น
80.00 80.00
3 ข้อ 3 เพื่อให้ร้านอาหารได้รับความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงภัยจากการบริโภคอาหารหวาน
  • ร้อยละ 90 ของร้านอาหารได้รับความรู้เพิ่มขึ้น
  • ร้อยละ 100 ของร้านอาหารได้รับการตรวจสอบคุณภาพอาหารเป็นร้านอาหารอ่อนหวาน อ่อนโรค
80.00 80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. กิจกรรมตรวจสอบคุณภาพอาหาร

ชื่อกิจกรรม
1. กิจกรรมตรวจสอบคุณภาพอาหาร
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าตอบแทนในการตรวจสอบคุณภาพอาหาร จำนวน 4 คนๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
  • ค่าแบบฟอร์มในการตรวจสอบคุณภาพอาหาร จำนวน 20 ชุดๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 200 บาท
  • จัดซื้ออุปกรณ์ตรวจวัดความหวาน จำนวน 1 เครื่องๆ ละ 1,750 บาท เป็นเงิน 1,750 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. เยาวชนได้รับความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงภัยจากการบริโภคอาหารหวาน
  2. นักเรียนสามารถลดการบริโภคหวาน
  3. ลดปัญหาเด็กอ้วนในโรงเรียน
  4. ร้านอาหาร ได้รับความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงภัยจากการบริโภคอาหารหวาน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3150.00

กิจกรรมที่ 2 2. กิจกรรมให้ความรู้

ชื่อกิจกรรม
2. กิจกรรมให้ความรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 2 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
  • ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 60 ชุดๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. เยาวชนได้รับความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงภัยจากการบริโภคอาหารหวาน
  2. นักเรียนสามารถลดการบริโภคหวาน
  3. ลดปัญหาเด็กอ้วนในโรงเรียน
  4. ร้านอาหาร ได้รับความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงภัยจากการบริโภคอาหารหวาน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2700.00

กิจกรรมที่ 3 3. กิจกรรมรณรงค์ลดการบริโภคหวานในชุมชน/ร้านอาหารอ่อนหวาน

ชื่อกิจกรรม
3. กิจกรรมรณรงค์ลดการบริโภคหวานในชุมชน/ร้านอาหารอ่อนหวาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • จัดทำป้ายโฟมบอร์ด ร้านอาหารอ่อนหวาน อ่อนโรค จำนวน 20 อันๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
  • ค่าอุปกรณ์ในการจัดทำสื่อ (ปากกาเมจิก กระดาษแข็ง กาว กรรไกร) จำนวน 9 ชุดๆ ละ 250 บาท เป็นเงิน 2,250 บาท
  • ค่าอาหารว่างสำหรับกิจกรรมการรณรงค์ จำนวน 60 ชุดๆ ละ 25 บาทเป็นเงิน 1,500 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. เยาวชนได้รับความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงภัยจากการบริโภคอาหารหวาน
  2. นักเรียนสามารถลดการบริโภคหวาน
  3. ลดปัญหาเด็กอ้วนในโรงเรียน
  4. ร้านอาหาร ได้รับความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงภัยจากการบริโภคอาหารหวาน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6750.00

กิจกรรมที่ 4 4. กิจกรรมคัดกรองภาวะโภชนาการในเยาวชน 6-14 ปี

ชื่อกิจกรรม
4. กิจกรรมคัดกรองภาวะโภชนาการในเยาวชน 6-14 ปี
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าตอบแทนในการคัดกรองภาวะโภชนาการ จำนวน 8 คนๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. เยาวชนได้รับความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงภัยจากการบริโภคอาหารหวาน
  2. นักเรียนสามารถลดการบริโภคหวาน
  3. ลดปัญหาเด็กอ้วนในโรงเรียน
  4. ร้านอาหาร ได้รับความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงภัยจากการบริโภคอาหารหวาน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2400.00

กิจกรรมที่ 5 5. กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยง

ชื่อกิจกรรม
5. กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

รพ.สต.นาท่ามใต้ สนับสนุน

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. เยาวชนได้รับความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงภัยจากการบริโภคอาหารหวาน
  2. นักเรียนสามารถลดการบริโภคหวาน
  3. ลดปัญหาเด็กอ้วนในโรงเรียน
  4. ร้านอาหาร ได้รับความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงภัยจากการบริโภคอาหารหวาน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 15,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เยาวชนได้รับความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงภัยจากการบริโภคอาหารหวาน
2. นักเรียนสามารถลดการบริโภคหวาน
3. ลดปัญหาเด็กอ้วนในโรงเรียน
4. ร้านอาหาร ได้รับความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงภัยจากการบริโภคอาหารหวาน


>