กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเยาวชนรุ่นใหม่อ่อนหวาน อ่อนโรค
รหัสโครงการ 66-L8428-02-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรม อสม.ตำบลนาท่ามใต้
วันที่อนุมัติ 7 เมษายน 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2566
งบประมาณ 15,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางน้องนุช หนูนาค
พี่เลี้ยงโครงการ กองทุน สปสช.อบต.นาท่ามใต้
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลนาท่ามใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การบริโภคน้ำตาลเกินความเหมาะสมและการทานหวานเป็นประจำจะส่งผลให้เกิดโรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคฟันผุ ซึ่งโรคต่างๆ เหล่านี้เมื่อเป็นแล้วรักษาได้ยาก เกิดภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาเป็นจำนวนมาก กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ได้ร่วมกันรณรงค์ลดพฤติกรรมการบริโภคน้ำตาลในเด็กไทยอย่างต่อเนื่อง ภายใต้การดำเนินงานของ “เครือข่ายเด็กไทยไม่กินหวาน” มาตั้งแต่ปี พ.ศ.2547 ชมรม อสม.ตำบลนาท่ามใต้จึงคิดที่จะดำเนินโครงการเยาวชนรุ่นใหม่อ่อนหวาน อ่อนโรคเพื่อลดปัญหาเด็กฟันผุและสภาวะเด็กอ้วน ซึ่งถือว่าเป็นการสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการให้เด็กเข้าถึงการบริโภคอาหารที่มีน้ำตาลสูง หากเด็กไทยมีการบริโภคอย่างต่อเนื่องก็จะส่งผลเสียต่อสุขภาพได้ จึงได้มีการประสานงานกับทางโรงเรียน/ชมชน เพื่อหาแนวทางในการจัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียน/ชุมชนให้เอื้อต่อการลดการบริโภคน้ำตาล และจัดให้มีการให้ความรู้แก่เยาวชน จัดกิจกรรมโรงเรียนอ่อนหวาน/ร้านอาหารอ่อนหวาน เพื่อลดพฤติกรรมการบริโภคหวานโดยการมีส่วนร่วมของนักเรียนและผู้ปกครอง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้เยาวชนได้รับความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงภัยจากการบริโภคอาหารหวาน
  • ร้อยละ 90 ของเยาวชนกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้เพิ่มขึ้น
  • ร้อยละ 100 มีแกนนำในการดูแลสุขภาพและสร้างพฤติกรรมการบริโภคได้อย่างถูกต้อง
80.00 80.00
2 ข้อ 2 เพื่อลดปัญหาเด็กอ้วน
  • ร้อยละ 5 เยาวชนมีภาวะโภชนาการสูงดีสมส่วนเพิ่มขึ้น
80.00 80.00
3 ข้อ 3 เพื่อให้ร้านอาหารได้รับความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงภัยจากการบริโภคอาหารหวาน
  • ร้อยละ 90 ของร้านอาหารได้รับความรู้เพิ่มขึ้น
  • ร้อยละ 100 ของร้านอาหารได้รับการตรวจสอบคุณภาพอาหารเป็นร้านอาหารอ่อนหวาน อ่อนโรค
80.00 80.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 15,000.00 0 0.00
1 มี.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 1. กิจกรรมตรวจสอบคุณภาพอาหาร 0 3,150.00 -
1 มี.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 2. กิจกรรมให้ความรู้ 0 2,700.00 -
1 มี.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 3. กิจกรรมรณรงค์ลดการบริโภคหวานในชุมชน/ร้านอาหารอ่อนหวาน 0 6,750.00 -
1 มี.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 4. กิจกรรมคัดกรองภาวะโภชนาการในเยาวชน 6-14 ปี 0 2,400.00 -
1 มี.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 5. กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยง 0 0.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เยาวชนได้รับความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงภัยจากการบริโภคอาหารหวาน
  2. นักเรียนสามารถลดการบริโภคหวาน
  3. ลดปัญหาเด็กอ้วนในโรงเรียน
  4. ร้านอาหาร ได้รับความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงภัยจากการบริโภคอาหารหวาน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 เม.ย. 2566 00:00 น.