กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ รหัส กปท. L4114

อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
แก้ไขปัญหาโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ เพื่อผลลัพธ์มหัศจรรย์ 1000 วันแรกที่ดีของทารก ปี 2566
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
รพ.สต.บ้านดุซงกูจิ
กลุ่มคน
ฟิตรียะห์แดเบาะ
3.
หลักการและเหตุผล

1,000 วันแรกของชีวิต คือ ช่วงเวลาที่นับตั้งแต่การปฏิสนธิและตั้งครรภ์จนกระทั่งคลอด (270 วัน) รวมกับช่วงเวลาตั้งแต่แรกคลอดจนถึงอายุ 2 ปี (730วัน) ช่วง 1,000 วันแรกเป็นรากฐานที่สำคัญของชีวิต เพราะเป็นช่วงเวลาที่มีการพัฒนาทางร่างกาย สมอง อารมณ์และสังคม เนื่องจากเป็นช่วงเวลาที่มีการสร้างเซลล์สมอง เพิ่มเซลล์สมอง และควบคู่ไปกับการสร้างเส้นใยประสาท ตั้งแต่อยู่ในครรภ์ การได้รับการดูแลที่ดี ตั้งแต่อยู่ในครรภ์ไปจนถึง อายุ 2 ปี จะทำให้ทารกเจริญเติบโต เป็นผู้ใหญ่ที่มีศักยภาพสูงในที่สุด การที่จะเริ่มต้นดูแล มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกแห่งชีวิต จำเป็นที่จะต้องเริ่มต้น ตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์ รวมทั้งระหว่างตั้งครรภ์ ในการให้ความรู้มารดาตั้งครรภ์และครอบครัวในการดูแลสุขภาพ เพื่อป้องกันภาวะเสี่ยงระหว่างตั้งครรภ์ และป้องกันการเกิด อัตรามารดาและทารกตายแรกคลอด
หนึ่งในกระบวนการสำเร็จของ 1,000 วันแรก แห่งชีวิต คือการที่ มารดาตั้งครรภ์ จะต้องไม่มีภาวะโลหิตจาง ขณะตั้งครรภ์ ภาวะโลหิตจางยังเป็นปัญหาสำคัญในประเทศที่กำลังพัฒนา สารอาหารที่มีความสำคัญที่ทำให้เกิดภาวะโลหิตจาง และพบได้บ่อยคือ การขาดธาตุเหล็ก เพราะธาตุเหล็กเป็นองค์ประกอบที่สำคัญในการสังเคราะห์ฮีโมโกบินซึ่งทำหน้าที่จับกับออกซิเจนและส่งให้ทุกเซลล์ในร่างกาย หญิงมีครรภ์ถ้าขาดธาตุเหล็กทำให้กำเนิดทารกน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์และมีผลกระทบถึงพัฒนาการเด็กและสติปัญญาในการเรียนรู้ต่ำ โรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญปัญหาหนึ่งของประเทศ กระทรวงสาธารณสุขมีความพยายามที่จะดำเนินการควบคุมป้องกันมาตลอดโดยจัดตั้งระบบเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ เด็กวัยก่อนเรียนและเด็กวัยเรียน จากสถิติพบว่า อัตราการเกิดภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านดูซงกูจิ ตำบลสะเอะ มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นทุกปี จากร้อยละ 5.22( 7 คน ) ในปี ๒๕64 เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 19.83 ( 24 คน )ในปี ๒๕65 ขึ้นสูงเป็นอันดับ ๑ ของอำเภอกรงปินังโดยซีด2 ก็มีอัตราที่เพิ่มขึ้นเช่นเดียวกัน คือร้อยละ 6.98 (3 คน) ในปี 2564เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 29.27 (12คน) ในปี 2565 ซึ่งเป้าหมายกรมอนามัยกำหนดให้ไม่เกินร้อยละ ๑4 จากสถิติที่สูงขึ้นดังกล่าว ส่งผลให้หญิงตั้งครรภ์มีอัตราเสี่ยงต่อการตกเลือดหลังคลอดได้ง่าย คลอด Low Birth Weigthสติปัญญา การเรียนรู้ของเด็กก็อาจจะเกิดการเรียนรู้ล่าช้า ตามมาด้วย ส่งผลให้ 1,000 วันแรกของทารก มีผลกระทบได้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านดุซงกูจิ ตำบลสะเอะ ได้เล็งเห็นความสำคัญของภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ และการส่งผลกระทบต่อ 1,000 วันแรกของทารก เป็นอย่างมาก จึงได้มีแนวคิดที่จะต้องแก้ไขปัญหาโลหิตจางที่กำลังเกิดขึ้น ในพื้นที่ ให้ได้รับการแก้ไข อย่างเร็วที่สุด

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. กลยุทธที่ ๑ กิจกรรมปฏิบัติตามแนวทางการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางของ MCH Board ตลอดช่วงระยะเวลาขอโครงการ ตั้งแต่ มกราคม - สิงหาคม 2566 ในสถานบริการ ๑.๑.ผู้รับผิดชอบงานทบทวนและกำหนดแนวทางการปฏิบัติเรื่องการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจาง ตามนโยบ
    รายละเอียด

    1.กิจกรรมพัฒนาศักยภาพของหญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์ จำนวน 50 คน งบ 10,600 บาท
    1.1 ค่าวัสดุในการอบรม (ดังรายการแนบท้าย) เป็นเงิน 3,080 บาท 1.2 ค่าอาหารว่าง 25บาทx50คนx2มื้อ เป็นเงิน 2,500 บาท 1.3 ค่าอาหารกลางวัน 50บาทx50คนx1มื้อ เป็นเงิน 2,500 บาท 1.4 ค่าวิทยากร 300บาทx6ชั่วโมง เป็นเงิน 1,800 บาท 1.5 ค่าป้ายไวนิล      ขนาดผืนละ 2.88 ตารางเมตรๆ ละ 250 บาท  จำนวน 1 ผืน ขนาดกว้าง 1.2 เมตร x ยาว 2.4 เมตร  เป็นเงิน  720 บาท 2.กิจกรรมรณรงค์และประชาสัมพันธ์ประเด็นเรื่องการควบคุมภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์เป็นหลักให้ความรู้    ตามร้านค้า และมัสยิด  หมู่ 1,2,5,6  งบ 3,150 บาท ๒.1 ผลเสียจากภาวะโลหิตจางต่อมารดาและทารก ขนาด ๖๐x๘๐ ซม. 3 ชิ้นๆละ 350 บาท
                                                                                                  รวมเป็นเงิน 1,05๐ บาท 2.2 อาหารมารดาตั้งครรภ์ที่ควรรับประทาน    ขนาด ๖๐x๘๐ ซม. 3 ชิ้นๆละ 350 บาท
                                                                                                  รวมเป็นเงิน 1,05๐ บาท 2.3 การรักษาและการป้องกันภาวะโลหิตจาง  ขนาด ๖๐x๘๐ ซม. 3 ชิ้นชิ้นๆละ 350 บาท
                                                                                                  รวมเป็นเงิน 1,05๐บาท
                  รวมเป็นเงินทั้งสิ้น  13,750 บาท หมายเหตุ  ค่าใช้จ่ายทั้งหมดสามารถถัวเฉลี่ยกันได้

    งบประมาณ 13,750.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

รพ.สต.บ้านดุซงกูจิ

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 13,750.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ภาวะซีดก่อนคลอดน้อยกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 14
    1. เจ้าหน้าที่สามารถปฏิบัติตามแนวทางที่กำหนดครบถ้วนทุกครั้ง คิดเป็นร้อยละ ๙๐
  2. หญิงตั้งครรภ์ทุกคนได้รับการตรวจคัดกรองภาวะโลหิตจางในครั้งแรกที่มาฝากครรภ์
  3. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจเลือดดูภาวะโลหิตจางครั้งที่ ๒ คิดเป็นร้อยละ๙๐ 5.หญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์มีความรู้ ความเข้าใจถูกต้องเกี่ยวกับภาวะซีดและอันตรายที่ อาจเกิดขึ้นกับตนเองและบุตรในครรภ์ได้ โดยสามารถทำข้อสอบหลังการอบรมให้ถูกต้องได้ไม่ร้อยกว่าร้อยละ๙๐
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ รหัส กปท. L4114

อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ รหัส กปท. L4114

อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 13,750.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................