กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะโหนง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ชุมชนเข้มแข็งใส่ใจสุขภาพผู้บริโภค

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะโหนง

ชมรมอสม.รพ.สต.จะโหนง

นายประถม ประทุมมณี 0872933352
นางรัตนดา เพชรบุญวรรณโณ0869559323
นางพรรณีรงหนู0828257954
นายวิมลทองชนะ 0811379851
นายลาภย่องยัง0895964289
นายเจะฮาบ เร๊ะด้วน 0810996926
นางอารีย์ นวลเจริญ 0620611155

ม.1,5,6,7,8,10ต.จะโหนงอ.จะนะ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานสุรา , แผนงานยาสูบ , แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย (รวมทั้งร้านสะดวกซื้อ)

 

11.00
2 จำนวนร้านค้าที่ไม่ปฏิบัติตามกฎหมายในการจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน

 

5.00
3 ร้อยละของผู้ประกอบการร้านอาหาร/แผงลอยผ่านการอบรมด้านสุขาภิบาลอาหารในร้านอาหารและแผงลอยที่ได้มาตรฐาน

 

30.00
4 ร้อยละของร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารได้มาตรฐานอาหารสะอาดรสชาติอร่อย

 

60.00
5 ร้อยละของอาหารที่ผ่านเกณฑ์การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร

 

50.00
6 ร้อยละของร้านชำผ่านเกณฑ์ร้านชำติดดาว

 

67.00
7 จำนวนอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภค

 

6.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดจำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบและเครื่องดื่มผสมแอลกอฮอล์ที่ไม่ปฏิบัติตามกฏหมาย

ร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบและเครื่องดื่มผสมแอลกอฮอล์ปฏิบัติตามกฏหมาย

11.00 0.00
2 เพิ่มร้อยละของร้านชำผ่านเกณฑ์ร้านชำติดดาว

ร้านชำผ่านเกณฑ์ร้านชำติดดาว

67.00 90.00
3 เพิ่มร้อยละของร้านอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐาน อาหารสะอาดรสชาติอร่อย

ร้านอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐาน อาหารสะอาดรสชาติอร่อย

60.00 80.00
4 เพิ่มจำนวนอาสาสมัครด้านคุ้มครองผู้บริโภค

จำนวนอาสาสมัครด้านคุ้มครองผู้บริโภค

6.00 120.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 120
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
เจ้าของร้านชำ , ร้านอาหาร 38
เตรือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคระดับหมู่บ้าน 6

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2023

กำหนดเสร็จ 29/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-สถานการณ์/ปัญหา กำหนดแนวทางการปฏิบัติ และแบ่งหน้าที่การรับผิดชอบของทีมงาน ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 16 คนๆละ 25 บาทเป็นเงิน 400 บาท (ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยค่าใช้จ่ายได้ในแต่ละกิจกรรม)

ระยะเวลาดำเนินงาน
8 พฤษภาคม 2566 ถึง 8 พฤษภาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีการกำหนดแนวทางการปฏิบัติ มีการแบ่งหน้าที่การรับผิดชอบของทีมงาน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
400.00

กิจกรรมที่ 2 การพัฒนาระบบเฝ้าระวังด้านคุ้มครองผู้บริโภคชุมชน

ชื่อกิจกรรม
การพัฒนาระบบเฝ้าระวังด้านคุ้มครองผู้บริโภคชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.จัดประชุมตัวแทนผู้ประกอบการร้่านชำและร้านอาหารร่วมกับทีมงานคุ้มครองผู้บริโภค 2.ทีมงานคุ้มครองผู้บริโภคร่วมกับผู้นำชุมชนระดับหมู่บ้านสำรวจร้านชำตรวจสอบผลิตภัณฑ์อาหารยา เครื่องสำอางสารเคมีและวัตถุออกฤทธิ์การจำหน่ายยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ให้กับเจ้าของร้านชำและตรวจแนะนำร้านอาหารประเด็นการจัดร้านตามมาตรฐานอาหารสะอาดรสชาติอร่อย -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 2 มื้อ ๆละ 25 บาทจำนวน6คน 6หมู่บ้านเป็นเงิน 1,800 บาท -ค่าอาหารกลางวันจำนวน1มื้อๆละ 65 บาทจำนวน 6 คน6 หมู่บ้านเป็นเงิน 2,340 บาท -ค่าเอกสารการประชุม จำนวน36 คนๆละ 15บาทเป็นเงิน 540บาท -ค่าแบบสำรวจ เอกสารให้คำแนะนำร้านชำร้านอาหาร เป็นเงิน380 บาท(ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยค่าใช้จ่ายได้ในแต่ละกิจกรรม)

ระยะเวลาดำเนินงาน
15 พฤษภาคม 2566 ถึง 26 พฤษภาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

จัดทำทะเบียนร้านชำร้านอาหาร
ประเมินมาตรฐานร้านชำร้านอาหารพร้อมให้คำแนะนำ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5060.00

กิจกรรมที่ 3 จัดตั้งกลุ่มคุ้มครองผู้บริโภคระดับชุมชน

ชื่อกิจกรรม
จัดตั้งกลุ่มคุ้มครองผู้บริโภคระดับชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดประชุมประชาชนในหมู่บ้าน: -ชี้แจงสถานการณ์งานคุ้มครองผู้บริโภคโดยทั่วไปคืนข้อมูลการสำรวจร้านชำ/ร้านอาหาร จัดตั้งกลุ่มคุ้มครองผู้บริโภค - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 6 หมู่บ้าน ๆ ละ 30 คน ๆละ 25บาท เป็นเงิน4,500 บาท - ค่าไวนิลสุขศึกษา จุดรับเรื่องร้องเรียนด้านคุ้มครองผู้บริโภคจำนวน 7 แห่ง ๆละ 450 บาท เป็นเงิน 3,150บาท - ค่า ชุดทดสอบสารปนเปื้อนในอาหาร (บอเรกซ์,ฟอร์มาลีน,สารกันรา,สารฟอกขาว) เป็นเงิน3,200 บาท - ค่าชุดทดสอบ SI2 จำนวน 2 ลัง (50 ขวดต่อลัง)ลังละ 1200บาทเป็นเงิน 2,400 บาท - ค่าอุปกรณ์ ตรวจ SI2 จำนวน 1 ชุดๆละ1,800 บาท(ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยค่าใช้จ่ายได้ในแต่ละกิจกรรม)

ระยะเวลาดำเนินงาน
5 มิถุนายน 2566 ถึง 23 มิถุนายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีกลุ่มลุ่มคุ้มครองผู้บริโภคทุกหมู่บ้าน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15050.00

กิจกรรมที่ 4 อบรมตัวแทนกลุ่มคุ้มครองผู้บริโภคระดับชุมชน

ชื่อกิจกรรม
อบรมตัวแทนกลุ่มคุ้มครองผู้บริโภคระดับชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ฝึกอบรมตัวแทนกลุ่มคุ้มครองผู้บริโภคระดับชุมชน 08.30-09.00 ลงทะเบียน 09.00-10.00 ปัญหา/อุปสรรคการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคที่พบบ่อย 10.10-10.15 พักอาหารว่าง 10.15-12.15 การตรวจสอบคุณภาพอาหารเครื่องสำอาง 12.15-13.00 พักกลางวัน 13.00-14.30 การตรวจสอบคุณภาพอาหารเครื่องสำอาง 14.30-14.45 พักอาหารว่าง 14.45-15.30 สรุปประเด็นปัญหา -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 25 คนๆละ 2 มื้อๆละ 25 บาทเป็นเงิน 1,250 บาท -ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 25 คนๆละ 1 มื้อๆละ 65 บาท เป็นเงิน 1,625 บาท -ค่าเอกสารประชุมจำนวน 25 คนๆละ 1 ชุดๆละ 20 บาท เป็นเงิน 500 บาท -ค่าวิทยากร 4 ชั่วโมง ๆละ 600 บาทเป็นเงิน 2,400บาท(ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยค่าใช้จ่ายได้ในแต่ละกิจกรรม)

ระยะเวลาดำเนินงาน
6 กรกฎาคม 2566 ถึง 6 กรกฎาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าร่วมประชุมเข้าใจปัญหา  และสามารถประยุกต์ความรู้ที่ได้มาไปใช้ในการทำงานได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5775.00

กิจกรรมที่ 5 การสร้างความเข้มแข็งด้านคุ้มครองผู้บริโภคจากผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางในร้านชำ

ชื่อกิจกรรม
การสร้างความเข้มแข็งด้านคุ้มครองผู้บริโภคจากผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางในร้านชำ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

การตรวจสอบความปลอดภัยในสินค้าร้านชำประเด็นเครื่องสำอางโดยรวบรวมจากตัวแทนกลุ่มคุ้มครองผู้บริโภคระดับชุมชนของทุกหมู่บ้าน จำนวน 2จุดจุดละ 20 ชุด -ค่าชุดทดสอบ(กรดวิตตามินเอ 1,600 บาทสารไฮโดรควิโนน 1,400บาท สารปรอท 1,100บาท) เป็นเงิน4,100บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มทีมงานทดสอบทีมละ8 คนๆละ 25 บาท จำนวน2จุด เป็นเงิน 400 บาท(ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยค่าใช้จ่ายได้ในแต่ละกิจกรรม)

ระยะเวลาดำเนินงาน
10 กรกฎาคม 2566 ถึง 11 กรกฎาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

-ไม่พบสารต้องห้ามในเครื่องสำอาง -ประชาชนมีความมั่นใจต่อสินค้า(เครื่องสำอาง)ในร้านชำ -ร้านชำไม่จำหน่ายเครื่องสำอางอันตราย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4500.00

กิจกรรมที่ 6 การประเมินผลการรณรงค์ด้านคุ้มครองผู้บริโภคชุมชน

ชื่อกิจกรรม
การประเมินผลการรณรงค์ด้านคุ้มครองผู้บริโภคชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

การประเมินผลภายหลังการสำรวจให้คำแนะนำและการจัดตั้งกลุ่มคุ้มครองผู้บริโภค ส่งเสริมการบริโภคปลอดภัยในร้านชำ/ร้านอาหาร ทีมงานคุ้มครองผู้บริโภคร่วมกับผู้นำชุมชนระดับหมู่บ้านสำรวจและตรวจแนะนำร้านอาหารประเด็นการจัดร้านตามมาตรฐานอาหารสะอาดรสชาติอร่อย -ค่าอาหารว่างทีมงานจำนวน10คนๆละ 1 มื้อ ๆละ 25 บาทจำนวน 6 วัน เป็นเงิน 1,500 บาท -ค่าป้ายสัญลักษณ์รับรองการตรวจคุณภาพอาหารสะอาดรสชาติอร่อย จำนวน 12 ร้านๆละ 450 บาทเป็นเงิน 5,400 บาท - ค่าเอกสารสำรวจทดสอบ เป็นเงิน300 บาท (ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยค่าใช้จ่ายได้ในแต่ละกิจกรรม)

ระยะเวลาดำเนินงาน
21 สิงหาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้านชำ  ร้านอาหารมีการดำเนินการจัดการร้านของตนเองไปสู่การมาตรฐานร้านอาหารรสชาติอร่อย  และร้านชำติดดาว

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7200.00

กิจกรรมที่ 7 ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปผล ถอดบทเรียน

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปผล ถอดบทเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปผล ถอดบทเรียนรายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ 1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน16 คนๆละ 25 บาท เป็นเงิน 400 บาท
2.ค่าทำเอกสารรูปเล่ม เป็นเงิน 500 บาท (ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยค่าใช้จ่ายได้ในแต่ละกิจกรรม)

ระยะเวลาดำเนินงาน
11 กันยายน 2566 ถึง 22 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เพื่อประเมินผลการดำเนินงานโครงการชุมชนก้าวไกลใส่ใจสุขภาพผู้บริโภค และวางแผนการดำเนินงานต่อไป

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
900.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 38,885.00 บาท

หมายเหตุ :
***ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยกันได้***

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.จำนวนร้านชำติดดาวผ่านมาตรฐานร้านชำติดดาวเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ประชาชนในพื้นที่มีเป้าหมายได้รับอาหารยาเครื่องสำอาง และผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัย
2.จำนวนร้านอาหารผ่านมาตรฐานอาหารสะอาดรสชาติอร่อยประชาชนไม่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะอุจจาระร่วงก่อให้เกิดเป็นจุดการค้าสร้างความประทับใจผู้รับบริการเพิ่มขึ้น
3.ประชาชนมีความปลอดภัยด้านสุขภาพจากอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ


>