กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะโหนง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

บริโภคปลอดภัยห่างไกลสารเคมี

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะโหนง

ชมรมอสม.ตำบลจะโหนง

นายประถม ประทุมมณี 0872933352
นางรัตนดา เพชรบุญวรรณโณ0869559323
นางพรรณีรงหนู0828257954
นายวิมลทองชนะ 0811379851
นายลาภย่องยัง0895964289
นายเจะฮาบ เร๊ะด้วน 0810996926
นางอารีย์ นวลเจริญ 0620611155

เขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจะโหนง อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของพื้นที่เกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ เมื่อเทียบกับพื้นที่เกษตรทั้งหมด

 

30.00
2 ร้อยละของประชากรที่ประกอบอาชีพเกษตรกรได้รับการตรวจคัดกรองสารเคมี

 

30.00
3 ร้อยละของประชากรที่มีความรู้และตระหนักถึงความปลอดภัยจากสารเคมี

 

50.00
4 ร้อยละของประชากรที่มีความเสี่ยงของสารเคมีตกค้างในกระแสเลือด

 

26.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มพื้นที่เกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์

ร้อยละของพื้นที่เกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ เมื่อเทียบกับพื้นที่เกษตรทั้งหมด

30.00 50.00
2 เพื่อเพิ่มร้อยละของประชากรที่มีทักษะในการเลือกและเตรียมอาหารให้มีความปลอดภัยจากสารเคมี

ประชากรมีทักษะในการเตรียมอาหารได้อย่างถูกต้องและเลือกอาหารบริโภคที่ปลอดภัยจากสารเคมีกำจัดแมลง

50.00 70.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2023

กำหนดเสร็จ 31/08/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-สถานการณ์/ปัญหา กำหนดแนวทางการปฏิบัติ และแบ่งหน้าที่การรับผิดชอบของทีมงาน
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 17 คนๆละ 25 บาทเป็นเงิน 425 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
11 พฤษภาคม 2566 ถึง 11 พฤษภาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีการกำหนดแนวทางการปฏิบัติ มีการแบ่งหน้าที่การรับผิดชอบของทีมงาน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
425.00

กิจกรรมที่ 2 ประชุมเสริมทักษะอบรมอาสาสมัครตรวจคัดกรองเกษตรกร

ชื่อกิจกรรม
ประชุมเสริมทักษะอบรมอาสาสมัครตรวจคัดกรองเกษตรกร
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมเสริมทักษะอาสาสมัครตรวจคัดกรองเกษตรกร 13.00-13.30 ลงทะเบียน 13.30-15.30ฝึกการตรวจเลือดปลายนิ้วและการวิเคราะห์ผล 15.30-15.40 พัก15.40-16.00สรุปประเด็นปัญหา/อุปสรรค 1.ค่าอาหารว่างจำนวน 30 คนๆละ 1 ชุด ชุดละ 25 บาทเป็นเงิน 750 บาท
2.ค่าวิทยากร จำนวน 2 ชั้วโมงๆละ 600 บาทเป็นเงิน1200บาท 3.ค่าเอกสารการประชุม 30 คนๆละ 20 บาท เป็นเงิน 600 บาท 4.ค่าวัสดุการฝึก(เข็มเจาะ หลอดดูดโลหิต แอลกอฮอล์แผ่นสไลด์)เป็นเงิน 1,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
6 มิถุนายน 2566 ถึง 6 มิถุนายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าร่วมประชุมเข้าใจปัญหา  และสามารถฝึกทักษะ  และแปรผลการตรวจได้อย่างถกต้อง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3550.00

กิจกรรมที่ 3 รณรงค์ตรวจหาปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร

ชื่อกิจกรรม
รณรงค์ตรวจหาปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมรณรงค์ตรวจคัดกรองในทุกหมู่บ้าน 08.30-09.00 ลงทะเบียน 09.00-10.00 สถานการณ์และประชุมเสริมทักษะการเลือกบริโภคอาหารที่ปลอดภัยสมุนไพรล้างสารพิษ 10.00-10.15 พัก 10.15-12.00 เจาะเลือดตรวจสารเคมี 12.00-13.00 พักเที่ยง 13.00-14.00 ทดสอบสารตัวอย่าง วิเคราะห์ผล สรุปผล - ค่าป้ายโครงการป้ายความรู้สุขศึกษาและประชาสัมพันธ์ จำนวน1ชุด เป็นเงิน 3,000 บาท
- ค่าเอกสาร แผ่นพับ หมู่ละ 100 บาท6หมู่บ้านเป็นเงิน600 บาท - ค่าวิทยากร1 ชั่วโมงๆละ 600บาท 6หมู่บ้าน เป็นเงิน3600บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้ารับการคัดกรองและทีมงานตรวจ 40 คน ๆละ 25 บาท จำนวน6หมู่บ้าน เป็นเงิน 6000 บาท - ค่าอาหารกลางวัน ทีมงานตรวจคัดกรอง จำนวน 10 คนๆละ 65 บาทจำนวน 6 หมู่บ้าน เป็นเงิน 3,900บาท - ค่าวัสดุอุปกรณ์การตรวจ (1.ค่ากระดาษตรวจโคลีนเอสเตอร์เรส จำนวน 2 กล่องๆละ 950 บาท เป็นเงิน 1900 บาท , 2.ค่าเข็มเจาะ 2 กล่องๆละ750 บาท เป็นเงิน1500 บาท 3.ค่าเวชภัณฑ์ในการคัดกรอง(สำลีแอลกอฮลล์ , แผ่นสไลด์ ,หลอดดูดเลือด )เป็นเงิน1500 บาท) รวมทั้งสิ้นเป็นเงิน4,900บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
15 มิถุนายน 2566 ถึง 30 มิถุนายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เกษตรกรได้รับการตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือดและได้รับคำแนะนำที่ถูกต้อง ลดภาวะการเกิดอันตรายจากสารพิษตกค้างในร่างกาย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
22000.00

กิจกรรมที่ 4 เยี่ยมเสริมพลังติดตามพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงจากผลการตรวจเลือด

ชื่อกิจกรรม
เยี่ยมเสริมพลังติดตามพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงจากผลการตรวจเลือด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ติดตามให้คำแนะนำที่บ้าน/สถานที่ทำงาน/ชุมชน โดยทีมอาสาสมัคร 1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการติดตามจำนวน6 คน ๆละ 25บาท6 หมู่บ้านเป็นเงิน1,800บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 กรกฎาคม 2566 ถึง 7 กรกฎาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเสี่ยงมีการปรับพฤติกรรมการใช้สารเคมีได้อย่างถูกต้อง  จนไม่มีภาวะอันตรายจากสารเคมี

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1800.00

กิจกรรมที่ 5 ตรวจเลือดหาสารเคมีตกค้างซ้ำภายหลังปรับพฤติกรรมครบ 1 เดือน

ชื่อกิจกรรม
ตรวจเลือดหาสารเคมีตกค้างซ้ำภายหลังปรับพฤติกรรมครบ 1 เดือน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

เจาะเลือดตรวจสารเคมีตกค้าง กลุ่มเสี่ยงภายหลังครบ 1 เดือน
13.00-13.30 ลงทะเบียน 13.30-14.30 เจาะเลือดตรวจกลุ่มเสี่ยง แนะนำความรู้รายบุคคล   ฝึกทักษะการเลือกบริโภคอาหารที่ถูต้อง วิเคราะห์ 14.30-14.45 พัก 14.45- 15.30 สรุปผล -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม กลุ่มสี่ยงและทีมงานตรวจคัดกรอง  จำนวน  40 คน ๆละ 25  บาท  เป็นเงิน 1000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 สิงหาคม 2566 ถึง 8 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเสี่ยงมีการปรับพฤติกรรมการบริโภคที่เหมาะสมจนส่งผลให้ปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดมีปริมาณที่เหมาะสม  ไม่ก่อผลเสียต่อสุขภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1000.00

กิจกรรมที่ 6 ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมทีมงาน สรุปผลการดำเนินงาน ปัญหาและอุปสรรค แจ้งผลการดำเนินงานในที่ประชุมอสม./ผู้นำชุมชน ค่าจัดทำเอกสารรูปเล่ม เป็นเงิน 500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
21 สิงหาคม 2566 ถึง 24 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีรายงานสรุปผลที่าสามารถนำข้อมูลที่ได้มาใช้ในการวางแผนการดำเนินงานด้านอาชีวอนามัยและการเฝ้าระวังสุขภาพของประชาชนกลุ่มเสี่ยง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 29,275.00 บาท

หมายเหตุ :
***ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยกันได้***

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ได้รับการตรวจคัดกรอง ได้รับคำแนะนำเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและส่งรักษาต่ออย่างทันท่วงที
2.ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในระดับที่เสี่ยง มีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากสารเคมีมากขึ้น


>