กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โละจูด

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ ลดโรค ลดเสี่ยง ลดภาวะแทรกซ้อนโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โละจูด

อาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที 6บ้านเขาสามสิบ

นางกรรณิการ์บินสมิน
นางสาวสายทิพย์เรืองโรจน์
นายรอฮะวาเลง

หมู่ที 6บ้านเขาสามสิบ ตำบลโละจูด อำเภอแว้งจังหวัดนราธิวาส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 คัดการองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิต ในชุมชน

 

3.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อประชาชนในหมู่บ้าน มีการเฝ้าระวังและการป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

ประชาชนในหมู่บ้าน มีการเฝ้าระวังและการป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

3.00 3.00
2 เพื่อประชาชนในหมู่บ้าน ในกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงได้รับการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีความรู้ มีทัศนคติ และมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมในการป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

ประชาชนในหมู่บ้าน ในกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงได้รับการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีความรู้ มีทัศนคติ และมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมในการป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

3.00 3.00
3 เพื่อส่งต่อผู้ป่วยรายใหม่เพื่อทำการรับษาตามขั้นตอนทางแพทย์

สามารถส่งต่อผู้ป่วยรายใหม่เพื่อทำการรับษาตามขั้นตอนทางแพทย์

3.00 3.00
4 เพื่อประชาชนในหมู่บ้าน มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถมีพฤติกรรม สุขภาพได้เหมาะสม ลดโอกาสการเกิดโรคแทรกซ้อนทาง ตา ไต เท้า หัวใจและหลอดเลือดและปัญหาสุขภาพช่องปาก

ประชาชนในหมู่บ้าน มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถมีพฤติกรรม สุขภาพได้เหมาะสม ลดโอกาสการเกิดโรคแทรกซ้อนทาง ตา ไต เท้า หัวใจและหลอดเลือดและปัญหาสุขภาพช่องปาก

3.00 3.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2023

กำหนดเสร็จ 31/08/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมคัดการองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิต ในชุมชน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมคัดการองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิต ในชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าเครื่องวัดความดันโลหิตอัตโนมัติ จำนวน 1 เครื่อง = 2,500 บาท ค่าเครื่องวัดดัชนีมวลกาย  จำนวน 1 เครื่อง = 4,300 บาท ค่าเครื่องตรวจน้ำตาลในเลือด จำนวน 1 เครื่อง = 2,500 บาท ค่าชุดแผ่นตรวจวัดน้ำตาลในเลือด 50 ชิ้น/กล่อง จำนวน 2 กล่องๆละ 1,100 บาท = 2,200 บาท ค่าเข็มเจาะเลือดปลายนิ้ว ขนาด 200 ชิ้น/กล่อง จำนวน 1 กล่อง = 600 บาท รวมเป็นเงิน 12,100 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชนได้รับการคัดกรองโดยทั่วหน้า

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12100.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 12,100.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑. ประชาชนในหมู่บ้าน มีการเฝ้าระวังและการป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
๒. ประชาชนในหมู่บ้าน ในกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงได้รับการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีความรู้ มีทัศนคติ และมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมในการป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
๓. สามารถส่งต่อผู้ป่วยรายใหม่เพื่อทำการรับษาตามขั้นตอนทางแพทย์
๔. ประชาชนในหมู่บ้าน มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถมีพฤติกรรม สุขภาพได้เหมาะสม ลดโอกาสการเกิดโรคแทรกซ้อนทาง ตา ไต เท้า หัวใจและหลอดเลือดและปัญหาสุขภาพช่องปาก


>