กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พนมวังก์

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการจัดการโรคเรื้อรังความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ปี 2566

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พนมวังก์

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสี่แยกไสยวน

ตำบลพนมวังก์

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 1.ร้อยละประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป มีความเสี่ยงโรคเบาหวาน

 

5.04
2 2.ร้อยละประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป มีความเสี่ยงโรคความความดันโลหิตสูง

 

5.78
3 3.ร้อยละกลุ่มเสี่ยงป่วยเป็นเบาหวานรายใหม่

 

0.16
4 4.ร้อยละกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงป่วยเป็นความดันโลหิตสูงรายใหม่

 

0.81

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นกลุ่มเป้าหมายคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 1,986 คน ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง
  1. ร้อยละประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง
95.00 99.00
2 ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปกลุ่มเป้าหมายคัดกรองโรคเบาหวาน จำนวน 2,432 คน ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน

1.ร้อยละประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการคัดกรองเบาหวาน

95.00 99.00
3 3.กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงจำนวน 534 คน มีความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง

1.ร้อยละกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงลดลง

5.78 3.78
4 4.กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 306 คน มีความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูก้อง

1.ร้อนยละกลุ่มเสี่ยงเบาหวานลดลง

5.04 3.04
5 5.กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงป่วยเป็นผู้ป่วยรายใหม่

1.ร้อยละกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงป่วยเป็นผู้ป่วยรายใหม่ ลดลง

0.81 0.51
6 6.กลุ่มเสี่ยงเบาหวานป่วยเป็นผู้ป่วยรายใหม่

1.ร้อยละกลุ่มเสี่ยงเบาหวานป่วยเป็นผู้ป่วยรายใหม่ ลดลง

0.16 0.60

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 1,300
กลุ่มผู้สูงอายุ 1,251
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 746
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 534
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/06/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1.ประชุม อสม.ฟื้นฟูความรู้ทักษะการคัดกรองการดูแลกลุ่มเสี่่ยง ดูแลกลุ่มป่วย

ชื่อกิจกรรม
1.ประชุม อสม.ฟื้นฟูความรู้ทักษะการคัดกรองการดูแลกลุ่มเสี่่ยง ดูแลกลุ่มป่วย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุม อสม.ฟื้นฟูความรู้ความรู้ทักษะการคัดกรองการดูแลกลุ่มเสี่่ยง ดูแลกลุ่มป่วย โดยมีค่าใช้จ่ายดังนีี้ 1.ค่าถ่ายเอกสาร แบบบันทึกการตรวจคัดกรองความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงเบาหวานจำนวน 2600 ชุดๆละ 1บาทเป็นเงิน2600บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.อสม.ได้รับการฟื้นฟูความรู้ทักษะการคัดกรองการดูแลกลุ่มเสี่่ยง ดูแลกลุ่มป่วย ร้อยละ 100

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2600.00

กิจกรรมที่ 2 2.ประชาสัมพันธ์ รณรงค์การคัดกรองประเมินความเสี่ยงความดันโลหิตสูงเบาหวาน คัดกรองสุขภาพ น้ำหนัก ส่วนสูงรอบเอว เจาะน้ำตาลปลายนิ้ว

ชื่อกิจกรรม
2.ประชาสัมพันธ์ รณรงค์การคัดกรองประเมินความเสี่ยงความดันโลหิตสูงเบาหวาน คัดกรองสุขภาพ น้ำหนัก ส่วนสูงรอบเอว เจาะน้ำตาลปลายนิ้ว
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชาสัมพันธ์ รณรงค์การคัดกรองประเมินความเสี่ยงความดันโลหิตสูงเบาหวาน คัดกรองสุขภาพ น้ำหนัก ส่วนสูงรอบเอว เจาะน้ำตาลปลายนิ้ว โดยมีค่าใช้จ่ายดังนี้1.ค่าแถบตรวจระดับน้ำตาลในเลือด พร้อมเข็มเจาะจำนวน 26 กล่อง (100ชิ้น/กล่อง )กล่องละ 1000 บาทเป็นเงิน 26000 บาท 2.ค่าเครื่องเจาะน้ำตาลปลายนิ้ว (DTX) จำนวน 4 เครื่องเครื่องละ 2800 บาท เป็นเงิน 11200บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 พฤษภาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย อายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูงเบาหวาน ร้อยละ 99

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
37200.00

กิจกรรมที่ 3 3.กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ติดตามดูแล ส่งต่อระบบการรักษา

ชื่อกิจกรรม
3.กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ติดตามดูแล ส่งต่อระบบการรักษา
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กลุ่มเสี่ยง ความดันโลหิตสูง  เบาหวาน ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ติดตามดูแล ส่งต่อระบบการรักษา  โดยมีค่าใช้จ่ายดังนี้  1.ประชุมให้ความรู้ การปรับเปลียนพฤติกรรมสุขภาพ  3 อ. 2 ส  กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง  เบาหวาน   จำนวน    534  คน  2.ติดตามกลุ่มเสียงความดันโลหิตสูง  เบาหวาน  ให้ความรู้ ให้คำปรึกษา อย่างต่อเนื่อง  1 เดือน 3 เดือน  6 เดือน 3.กลุ่มป่วยรายใหม่ เข้าระบบการรักษา   กลุ่มป่วย  ได้รับการตรวจ เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน    จำนวน 746  คน  โดยมีค่าใช้จ่ายดังนี้  1.ค่าถ่ายเอกสารความรู้ 3 อ.2 ส จำนวน 1000  ใบ(หน้า-หลัง)ใบละ 1  บาท   เป็นเงิน  1000  บาท  2.ค่าถ่ายเอกสาร แบบบันทึกการวัดความดนโลหิตที่บ้าน (HMBP) จำนวน 500  ใบ ๆละ 1 บาท เป็นเงิน  500  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.กลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้และมีการปรับเปลียนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง  ลดการป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่  ร้อยละ  5  ลดการป่วยเบาหวานรายใหม่  ร้อยละ 5 2.กลุ่มเสี่ยงด้รับความรู้และมีการปรับเปลียนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง  ลดกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง ร้อยละ 20  ลดกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน  ร้อยละ  20 3.กลุ่มป่วยรายใหม่ เข้าระบบการรักษา   กลุ่มป่วย  ได้รับการตรวจ เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน  ร้อยละ 100

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 41,300.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป เป้าหมายคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ได้รับการคัดกรอง เฝ้าระวัง ปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ 3 อ.2 ส.ร้อยละ 99
2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยง ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ มีความรู้ ทัศคติการป้องกันโรค ลดการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ร้อยละ 5
3. กลุ่มเสี่ยง สงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ได้รับการติดตาม ส่งต่อเข้าระบบการักษาตามแนวทางการรักษาร้อยละ 100
4. กลุ่มป่วยได้รับตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนโรคหัวใจและหลอดเลือด ตาไต เท้า ส่งต่อเข้าระบบรักษา ติดตามเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน มีความรู้ ความเข้าใจ มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมร้อยละ 100
5. พัฒนาศักยภาพ อสม. เชี่ยวชาญการป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูง เบาหวานในชุมชนร้อยละ 80


>