กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สร้างถ่อ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการพัฒนาชมรมและศูนย์เพื่อนใจ TO BENUMBER ONE ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 รพ.สต.กุดตากล้า

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สร้างถ่อ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาำตำบลกุดตากล้า

1.นายบุญมีวงศ์คำจันทร์ ประธานพัฒนารพ.สต.
2.นายสายันต์สวยรูป ผอ.รพ.สต.กุดตากล้า
3.นางรัตนดาภรณ์บุญช่วย พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
4.นางสาวรัตนา สาธุภาค นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
5.นางสาวสุวรรณีฝอยทอง บันทึกข้อมูล

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาำตำบลกุดตากล้า

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานสิ่งเสพติด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กและเยาวชน อายุไม่เกิน 25 ปีในชุมชน ที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด

 

30.00
2 ร้อยละของเด็กและเยาวชน อายุไม่เกิน 25 ปี ในชุมชน ที่มีการใช้สารเสพติด

 

30.00
3 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 25 ปีขึ้นไปในชุมชน ที่มีการใช้สารเสพติด

 

20.00
4 จำนวนพื้นที่เสี่ยงต่อการมั่วสุมในชุมชน

 

5.00
5 จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน

 

5.00
6 ร้อยละของหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน

 

5.00
7 จำนวนพื้นที่ปลอดภัย พื้นที่สร้างสรรค์ ที่เอื้อต่อการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด

 

10.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดจำนวนพื้นที่เสี่ยงต่อการมั่วสุมในชุมชน

จำนวนพื้นที่เสี่ยงต่อการมั่วสุมในชุมชน

5.00 0.00
2 เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน

จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน

5.00 10.00
3 เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน

ร้อยละของหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน

5.00 10.00
4 เพื่อเพิ่มจำนวนพื้นที่ปลอดภัย พื้นที่สร้างสรรค์ ที่เอื้อต่อการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด

จำนวนพื้นที่ปลอดภัย พื้นที่สร้างสรรค์ ที่เอื้อต่อการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด

10.00 20.00
5 เพื่อลดเด็กและเยาวชน อายุไม่เกิน 25 ปีในชุมชน ที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด

ร้อยละของเด็กและเยาวชน อายุไม่เกิน 25 ปีในชุมชน ที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด

30.00 10.00
6 เพื่อลดเด็กและเยาวชน อายุไม่เกิน 25 ปีในชุมชน ที่มีการใช้สารเสพติด

ร้อยละของเด็กและเยาวชน อายุไม่เกิน 25 ปี ในชุมชน ที่มีการใช้สารเสพติด

30.00 10.00
7 เพื่อลดผู้ใหญ่ อายุ 25 ปีขึ้นไปในชุมชน ที่มีการใช้สารเสพติด

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 25 ปีขึ้นไปในชุมชน ที่มีการใช้สารเสพติด

20.00 5.00
8 เพื่อให้เกิดรูปแบบการดูแลผู้ใช้ ผู้เสพสารเสพติดที่เป็นเด็กและเยาวชนอย่างเหมาะสม

มีรูปแบบการดูแลผู้ใช้ ผู้เสพสารเสพติดที่เหมาะสม

1.00 5.00
9 เพื่อจัดตั้งศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE

ศูนย์เพื่อนใจให้คำปรึกษาในชุมชน

5.00 8.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 350
กลุ่มวัยทำงาน 300
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. จัดอบรมชี้แจงวัตถุประสงค์ในการดำเนินงานกับภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ระยะเวลา 1 วัน 2. จัดประชุมขับเคลื่อนการดำเนินงานและติดตามผลการดำเนินงาน ระยะเวลา 1 วัน 3. จัดหาสื่อนิทรรศการ ให้ความรู้ เพื่อสร้างเครือข่ายพลังเยาวชน TO BE NUMBER ONE4. ประชุมจัดตั้ง

ชื่อกิจกรรม
1. จัดอบรมชี้แจงวัตถุประสงค์ในการดำเนินงานกับภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ระยะเวลา 1 วัน 2. จัดประชุมขับเคลื่อนการดำเนินงานและติดตามผลการดำเนินงาน ระยะเวลา 1 วัน 3. จัดหาสื่อนิทรรศการ ให้ความรู้ เพื่อสร้างเครือข่ายพลังเยาวชน TO BE NUMBER ONE4. ประชุมจัดตั้ง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

งบประมาณ25,200บาท รายละเอียดดังนี้ ประชุมชี้แจงการดำเนินงานกับภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องขับเคลื่อนการดำเนินงานและประชุมติดตามผลการดำเนินงาน ระยะเวลา 1 วัน - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าประชุม44 คน x 1มื้อ x 25 บาท เป็นเงิน1,100 บาท -ค่าวิทยากรประชุมชี้แจ้งชั่วโมงละ300บาทจำนวน 2 ชั่วโมงเป็นเงิน 600 บาท อบรมการดำเนินงานเยาวชนต้านยาเสพติด การป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ระยะเวลา 1 วัน -ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าอบรม 140คน อบรมหมู่บ้านละ1ครั้งๆละ28 คนจำนวน5หมู่บ้าน140 x 1 มื้อ x 50 บาท เป็นเงิน 7,000 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าอบรม 140คน อบรมหมู่บ้านละ1ครั้งๆละ25 จำนวน 5 หมู่บ้าน140 x 2 มื้อ x 50 บาท เป็นเงิน 7,000 บาท -ค่าวิทยากรอบรมชั่วโมงละ300วันละ6 ชั่วโมง จำนวน 5 วัน เป็นเงิน9,000บาท -ค่าป้ายอบรมโครงการพัฒนาชมรมและศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONEในสถานศึกษาชุมชน และสถานประกอบการอำเภอเขื่องในจังหวัดอุบลราชธานี ขนาด1.20×3.30 จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. มีชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานศึกษาเพิ่มขึ้น
    1. มีรูปแบบการดูแลผู้ใช้ ผู้เสพสารเสพติดที่เป็นเด็กและเยาวชนอย่างเหมาะสม 3.มีพื้นที่และกิจกรรมสร้างสรรค์ให้เยาวชนได้แสดงออก
  2. ประชาชนเห็นความสำคัญของการแก้ปัญหายาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชนมากขึ้น
  3. สังคมเปิดใจยอมรับผู้ใช้ ผู้เสพที่ผ่านกระบวนการบำบัดให้กลับไปใช้ชีวิตในสังคม
  4. เยาวชนสามารถจัดการกับปัญหาชีวิตและใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุข
    *****เป็นชุมชนปลอดสารเสพติด**********
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
25200.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 25,200.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. มีชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานศึกษาเพิ่มขึ้น
2. มีรูปแบบการดูแลผู้ใช้ ผู้เสพสารเสพติดที่เป็นเด็กและเยาวชนอย่างเหมาะสม
3.มีพื้นที่และกิจกรรมสร้างสรรค์ให้เยาวชนได้แสดงออก
4. ประชาชนเห็นความสำคัญของการแก้ปัญหายาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชนมากขึ้น
5. สังคมเปิดใจยอมรับผู้ใช้ ผู้เสพที่ผ่านกระบวนการบำบัดให้กลับไปใช้ชีวิตในสังคม
6. เยาวชนสามารถจัดการกับปัญหาชีวิตและใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุข


>