กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาชมรมและศูนย์เพื่อนใจ TO BENUMBER ONE ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 รพ.สต.กุดตากล้า
รหัสโครงการ L660425661006
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาำตำบลกุดตากล้า
วันที่อนุมัติ 1 ตุลาคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 15,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานสิ่งเสพติด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 350 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 300 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กและเยาวชน อายุไม่เกิน 25 ปีในชุมชน ที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด
30.00
2 ร้อยละของเด็กและเยาวชน อายุไม่เกิน 25 ปี ในชุมชน ที่มีการใช้สารเสพติด
30.00
3 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 25 ปีขึ้นไปในชุมชน ที่มีการใช้สารเสพติด
20.00
4 จำนวนพื้นที่เสี่ยงต่อการมั่วสุมในชุมชน
5.00
5 จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน
5.00
6 ร้อยละของหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน
5.00
7 จำนวนพื้นที่ปลอดภัย พื้นที่สร้างสรรค์ ที่เอื้อต่อการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด
10.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดจำนวนพื้นที่เสี่ยงต่อการมั่วสุมในชุมชน

จำนวนพื้นที่เสี่ยงต่อการมั่วสุมในชุมชน

5.00 0.00
2 เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน

จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน

5.00 10.00
3 เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน

ร้อยละของหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน

5.00 10.00
4 เพื่อเพิ่มจำนวนพื้นที่ปลอดภัย พื้นที่สร้างสรรค์ ที่เอื้อต่อการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด

จำนวนพื้นที่ปลอดภัย พื้นที่สร้างสรรค์ ที่เอื้อต่อการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด

10.00 20.00
5 เพื่อลดเด็กและเยาวชน อายุไม่เกิน 25 ปีในชุมชน ที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด

ร้อยละของเด็กและเยาวชน อายุไม่เกิน 25 ปีในชุมชน ที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด

30.00 10.00
6 เพื่อลดเด็กและเยาวชน อายุไม่เกิน 25 ปีในชุมชน ที่มีการใช้สารเสพติด

ร้อยละของเด็กและเยาวชน อายุไม่เกิน 25 ปี ในชุมชน ที่มีการใช้สารเสพติด

30.00 10.00
7 เพื่อลดผู้ใหญ่ อายุ 25 ปีขึ้นไปในชุมชน ที่มีการใช้สารเสพติด

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 25 ปีขึ้นไปในชุมชน ที่มีการใช้สารเสพติด

20.00 5.00
8 เพื่อให้เกิดรูปแบบการดูแลผู้ใช้ ผู้เสพสารเสพติดที่เป็นเด็กและเยาวชนอย่างเหมาะสม

มีรูปแบบการดูแลผู้ใช้ ผู้เสพสารเสพติดที่เหมาะสม

1.00 5.00
9 เพื่อจัดตั้งศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE

ศูนย์เพื่อนใจให้คำปรึกษาในชุมชน

5.00 8.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 25,200.00 1 0.00
1 ต.ค. 65 - 30 ก.ย. 66 1. จัดอบรมชี้แจงวัตถุประสงค์ในการดำเนินงานกับภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ระยะเวลา 1 วัน 2. จัดประชุมขับเคลื่อนการดำเนินงานและติดตามผลการดำเนินงาน ระยะเวลา 1 วัน 3. จัดหาสื่อนิทรรศการ ให้ความรู้ เพื่อสร้างเครือข่ายพลังเยาวชน TO BE NUMBER ONE4. ประชุมจัดตั้ง 0 25,200.00 0.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. มีชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานศึกษาเพิ่มขึ้น
  2. มีรูปแบบการดูแลผู้ใช้ ผู้เสพสารเสพติดที่เป็นเด็กและเยาวชนอย่างเหมาะสม 3.มีพื้นที่และกิจกรรมสร้างสรรค์ให้เยาวชนได้แสดงออก
  3. ประชาชนเห็นความสำคัญของการแก้ปัญหายาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชนมากขึ้น
  4. สังคมเปิดใจยอมรับผู้ใช้ ผู้เสพที่ผ่านกระบวนการบำบัดให้กลับไปใช้ชีวิตในสังคม
  5. เยาวชนสามารถจัดการกับปัญหาชีวิตและใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุข
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 เม.ย. 2566 14:02 น.