กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนมะพร้าว

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการพัฒนาศักยภาพอสม.หมอครอบครัว เพื่อคนไทยมีหมอประจำตัว3คน (อสม.หมอคนที่1)

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนมะพร้าว

ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านควนมะพร้าว

1.นางประคอง ทองอิน
2.นางอุทัย แก้วกลับ
3.นางสมศิลป์ สมดำ
4.นางกระจ่าย สิงหวงค์
5.นางพรทิพธ์ ดำเนียม

เขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านควนมะพร้าว

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 15/05/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการ (หลักสูตร อสม.หมอประจำบ้าน)

ชื่อกิจกรรม
อบรมเชิงปฏิบัติการ (หลักสูตร อสม.หมอประจำบ้าน)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. วิชาอาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) บทบาท อสม.หมอประจำบ้านและกฎหมาย อสม.
  2. วิชาการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมไม่ให้เกิดโรคในพื้นที
  3. วิชาส่งเสริมสุขภาพและแก้ไขปัญหาสุขภาพที่สำคัญ /การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
  4. วิชาภูมิปัญญาไทย สมุนไพรและการใช้กัญชาทางการแพทย์/และการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
  5. วิชาเทคโนโลยีการสื่อสารทางการแพทย์ โทรเวชกรรม และแอปพลิเคชั่นด้านสุขภาพ
  6. วิชาการเป็นผู้นำการสร้างสุขภาพแบบมีส่วนร่วม โดยมีค่าใช้จ่ายดังนี้
    1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 78 คนๆ 2 มื้อๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 3900 บาท
    2.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 78 คน 1 มื้อๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 3900 บาท
    3.ค่าวิทยากร 2 คนๆ ละ 2 ชม.ๆ ละ400 บาท เป็นเงิน 1,600 บาท
    4.ค่าเอกสารอบรม 1,560 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
5 มิถุนายน 2566 ถึง 5 มิถุนายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

อสม.รู้เกี่ยวกับ หลักสูตร อสม.หมอประจำบ้าน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10960.00

กิจกรรมที่ 2 ฝึกปฏิบัติงานในหน่วยบริการ/พื้นที่รับผิดชอบ

ชื่อกิจกรรม
ฝึกปฏิบัติงานในหน่วยบริการ/พื้นที่รับผิดชอบ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.อสค. ที่ดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง 2.การส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคในพื้นที่
3.การคุ้มครองผู้บริโภค ทางด้านสาธารณสุข
4.การใช้เทคโนโลยีการสื่อสารทางด้านสาธารณสุข และแอปพลิเคชั่นด้านสุขภาพ 5.การเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงาน 6.การจัดระบบการส่งต่อที่มีประสิทธิภาพ
โดยมีค่าใช้จ่ายดังนี้
1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 78 คนๆ 2 มื้อๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 3900 บาท
2.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 78 คน 1 มื้อๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 3900 บาท
3.ค่าวิทยากร 2 คนๆ ละ 2 ชม.ๆ ละ400 บาท เป็นเงิน 1,600 บาท
4.ค่าวัสดุอุปกรณ์สำหรับการฝึกปฏิบัติการ จำนวน 6 ชุดๆ ละ 500 บาท 3,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
6 มิถุนายน 2566 ถึง 6 มิถุนายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12400.00

กิจกรรมที่ 3 อสม.นำความรู้ที่ได้รับจากการอบรม ปฏิบัติงานในพื้นที่

ชื่อกิจกรรม
อสม.นำความรู้ที่ได้รับจากการอบรม ปฏิบัติงานในพื้นที่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ปฏิบัติการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการเด็ก ๐-๕ ปี
  2. ปฏิบัติการคัดกรองประเมินสุขภาพจิต
  3. ปฏิบัติการจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง
  4. ปฏิบัติการประเมิน/เฝ้าระวังโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน
  5. ปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยความดันโลหิตสูง/โรคเบาหวานในชุมชน
  6. ปฏิบัติการใช้ยาสามัญประจำบ้าน/ยาสมุนไพร ที่เหมาะสม
  7. ปฏิบัติการปฐมพยาบาล และการช่วยเหลือเบื้องต้น
  8. รายงานผลการปฏิบัติงานเดือนละ 1 ครั้ง ผ่าน Application “Smart อสม./อสม.ออนไลน์
ระยะเวลาดำเนินงาน
7 มิถุนายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 4 ติดตาม/ประเมินผล และถอดบทเรียนการดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
ติดตาม/ประเมินผล และถอดบทเรียนการดำเนินงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ติดตาม/ประเมินผล การฝึกปฏิบัติงานของ อสม. หลังจากฝึกปฏิบัติงาน 1 เดือน ถอดบทเรียนหลังการปฏิบัติงาน หลังจากกิจกรรมติดตาม/ประเมินผล 3 เดือน

ระยะเวลาดำเนินงาน
29 กันยายน 2566 ถึง 29 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 23,360.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. อสม.เป็น หมอประจำบ้าน หมอคนที่ 1 อย่างมีคุณภาพ
2. อสม.หมอประจำบ้านมีความรู้ ทักษะ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง
3. หมอคนที่1สามารถใช้เทคโนโลยีสื่อสารทางด้านสาธารณสุขได้ และเป็นแกนนำด้านการดูแลสุขภาพในชุมชน


>