กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะโหนง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการสร้างเสริมสุขภาวะที่ดี ชีวีปลอดโรค

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะโหนง

ชมรมผู้สูงอายุวัดขุนทอง

1.นายยอดสุวรรณยอดขวัญ
2.นายศุภชัย ยอดขวัญ
3.นางอรุณี มณีเพชร
4.นางเปรมใจทองเพ็ง
5.นางสาวพะยูร ช่วยทุน

หมู่ที่3 หมู่ที่4 ต.จะโหนง อ.จะนะ.จ.สงขลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

จากสถิติข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุข พบว่ามีโรคที่เป็นปัญหาด้านสาธารณสุข พบว่าโรคที่เป็นปัญหาด้านสาธารณสุข 5 อันดับแรก คือ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ร้อยละ 70โรคไขมันไนเลือดสูง โรคหัวใจ โรคระบบกล้ามเนื้อ ซึ่งจะพบในวัยมำงาน และกลุ่มผู้สูลอายุ จากการสำรวจพบสาเหตุสำคัญมาจาก การขาดการออกกำลังกาย และพฤติกรรมการบริโภคอาหารไม่ถูกต้อง เกิดปัญหาของประชาชนในชุมชน และยังพบว่าประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูง มีโอกาสเป็นผู้ป่วยรายใหม่ ด้วยโรคติดต่อเรื้อรังจากการซักประวัติพบว่า ส่วนหนึ่งขาดการออกกำลังกาย
ทางชมรมผู้สูงอายุวัดขุนทอง มีความต้องการให้สมาชิกในชมรม และบุคคลทั่วไป มีสุขภาพดีและได้ทักษะใหม่ๆมาถ่ายทอดให้กับสมาชิกในชมรม และบุคคลทั่วไป จึงได้จัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการออกกำลังกายด้วยกิจกรรมที่หลากหลายรูปแบบ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มร้อยละของผู้สูงอายุมีการออกกำลังกายที่พอเพียง(150นาที/สัปดาห์)

 

37.50 50.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ผู้สูงอายุและประชาชนทั่วไป 40

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 28/05/2023

กำหนดเสร็จ 30/08/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ เจ้าหน้าที่และผู้ที่เกี่ยวข้อง

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ เจ้าหน้าที่และผู้ที่เกี่ยวข้อง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 15 คนๆละ 25 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 375 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
28 พฤษภาคม 2566 ถึง 28 พฤษภาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ได้ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ(

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
375.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฎิบัติการ ให้ความรู้ การสาธิต และฝึกปฏิบัติเรื่องการออกกำลังกายแบบบาสโลบประกอบเพลง

ชื่อกิจกรรม
อบรมเชิงปฎิบัติการ ให้ความรู้ การสาธิต และฝึกปฏิบัติเรื่องการออกกำลังกายแบบบาสโลบประกอบเพลง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 40 คนๆละ 25 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 1000 บาท 2.ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน 3 ชั่วโมงๆละ 300 บาท เป็นเงิน 900 บาท 3.ค่าป้ายไวนิล ขนาด1.2X25 เมตร จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 800 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
4 มิถุนายน 2566 ถึง 4 มิถุนายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ได้รับความรู้ และได้ออกกำลังกายแบบบาสโลบประกอบเพลง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2700.00

กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฎิบัติการการออกกำลังกายแบบลีลาผ้าสไบ ประกอบเพลง

ชื่อกิจกรรม
อบรมเชิงปฎิบัติการการออกกำลังกายแบบลีลาผ้าสไบ ประกอบเพลง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 40 คนๆละ 25 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน  1000 บาท 2.ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน 3 ชั่วโมงๆละ 300 บาท เป็นเงิน 900 บาท 3.ค่าวัสดุอุปกรณ์ผ้าสไบ 40 ผืน ผื่นละ 120 บาน เป็นเงิน 4800 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
18 มิถุนายน 2566 ถึง 18 มิถุนายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ได้ออกกำลังกายแบบลีลาผ้าสไบประกอบเพลง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6700.00

กิจกรรมที่ 4 อบรมเชิงปฎิบัติการให้ความรู้ สาธิต และฝึกปฎิบัติรำวงย้อนยุคประกอบเพลง (รำวงพื้นบ้าน,รำวงม้าย่อง,รำวงแชมบ้า,รำวงคองก้า)

ชื่อกิจกรรม
อบรมเชิงปฎิบัติการให้ความรู้ สาธิต และฝึกปฎิบัติรำวงย้อนยุคประกอบเพลง (รำวงพื้นบ้าน,รำวงม้าย่อง,รำวงแชมบ้า,รำวงคองก้า)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 40 คนๆละ25 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 1000 บาท 2.ค่าวิทยากร 1 คน 3 ชั่วโมงๆละ 300 บาท เป็นเงิน 900 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
25 มิถุนายน 2566 ถึง 25 มิถุนายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ได้ความรู้และได้ฝึกปฎิบัติรำวงย้อนยุคประกอบเพลง รำวงพื้นบ้าน,รำวงม้าย่อง,รำวงแชมบ้า,รำวงคองก้า

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1900.00

กิจกรรมที่ 5 อบรมเชิงปฎิบัติการให้ความรู้ สาธิต ฝึกปฎิบัติ กิจกรรมการออกกำลังกายแบบวิถีไทยประกอบเพลง

ชื่อกิจกรรม
อบรมเชิงปฎิบัติการให้ความรู้ สาธิต ฝึกปฎิบัติ กิจกรรมการออกกำลังกายแบบวิถีไทยประกอบเพลง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 40 คนๆละ25 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 1000 บาท 2.ค่าวิทยากร 1 คน 3 ชั่วโมงๆละ 300 บาท เป็นเงิน 900 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
2 กรกฎาคม 2566 ถึง 2 กรกฎาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ได้รับความรู้และออกกำลังกายแบบวิถีไทยประกอบเพลง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1900.00

กิจกรรมที่ 6 สรุปผลการดำเนินโครงการ

ชื่อกิจกรรม
สรุปผลการดำเนินโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าเอกสารสุปโครงการ 2 เล่มๆละ 500 บาท เป็นเงิน 1000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
9 กรกฎาคม 2566 ถึง 30 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

รายงานสรุปผลการดำเนินโครงการ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 14,575.00 บาท

หมายเหตุ :
***ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยกันได้***

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.สมาชิกในชมรม และประชาชนทั่วไปมีส่วนร่วมในการสร้างสุขภาพวิธีแบบต่างๆ ร้อยละ 75
2.สมาชิกในชมรม และประชาชนทั่วไปมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีความถูกต้องในการออกกำลังกาย และการดูแลสุขภาพมากขึ้น ร้อยละ85
3.สมาชิกในชมรม และประชาชนทั่วไปสามารถเป็นแกนนำออกกำลังกายให้บุคคลอื่นได้ คิดเป็นร้อยละ 80


>