กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปิตูมุดี รหัส กปท. L3030

อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการฝากครรภ์คุณภาพทารกเกิดรอดแม่ปลอดภัย ตำบลปิตูมุดี ปีงบประมาณ 2566
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
PCU รพ.ยะรัง
3.
หลักการและเหตุผล

การฝากครรภ์เป็นหนึ่งในบริการอนามัยแม่และเด็กเพื่อเป็นการส่งเสริมและเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนอย่างต่อเนื่องตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์จนกระทั่งคลอดกระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลฝากครรภ์คุณภาพจากบุคลากรทางการแพทย์อย่างน้อย 8 ครั้งและเน้นย้ำการมาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์เพื่อให้สามารถประเมินความเสี่ยงในไตรมาสแรกและแก้ไขปัญหาได้ทันท่วงที ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในระหว่างตั้งครรภ์ที่อาจส่งผลเสียต่อมารดาและทารก ลดอัตราตายของมารดาทารกได้การฝากครรภ์ช้าจะส่งผลให้เกิดความเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนต่างๆ เช่นภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก ภาวะคลอดก่อนกำหนดทารกน้ำหนักตัวน้อยและโรคที่เป็นความเสี่ยงที่ต้องอยู่ในความดูแลอย่างใกล้ชิดจากแพทย์นอกจากนี้ในภาวะตั้งครรภ์ หญิงตั้งครรภ์จะเปลี่ยนแปลงอย่างมากทั้งด้านร่างกายและจิตใจ อารมณ์ และสังคมทำให้หญิงตั้งครรภ์มีความไม่สุขสบายและมีความวิตกกังวลได้จากผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2565พบว่าหญิงตั้งครรภ์ตำบลปิตูมุดี มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 78.26 ( 18 ราย ) หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์ร้อยละ 75 ( 20 ราย ) ทารกน้ำหนักน้อยร้อยละ 3.23และหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางร้อยละ 12.1 อีกทั้งหญิงตั้งครรภ์ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงหลายด้าน เพราะมารดาตั้งครรภ์ในช่วงวัยรุ่นยังขาดประสบการณ์และความรู้ในการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ เป็นกลุ่มเสี่ยงที่จะส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตพัฒนาการทางสมอง และระบบประสาทของเด็ก ส่งผลให้เด็กมีปัญหาด้านพัฒนาการ สติปัญญา พฤติกรรมและอารมณ์ตามมารวมถึงกระทบต่อปัญหาสุขภาพจิตและสังคมของหญิงตั้งครรภ์เองอีกด้วยจากการวิเคราะห์สาเหตุการมาฝากครรภ์ล่าช้าส่งผลให้ไม่ได้รับการดูแลตามมาตรฐาน พบว่าหญิงตั้งครรภ์ไม่ทราบถึงความสำคัญหรือประโยชน์ของการมาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ และการประชาสัมพันธ์การมาฝากครรภ์ในชุมชนยังไม่ทั่วถึง

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เรื่องการฝากครรภ์คุณภาพทารกเกิดรอดแม่ปลอดภัย
    รายละเอียด
    1. เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ
    2. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงานและมอบหมายงาน
    3. ประสานความร่วมมือและชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการแก่ผู้เกี่ยวข้อง
    4. จัดอบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และเครือข่าย อสม. สมาชิกชมรมนมแม่อาสา 5.กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างหญิงตั้งครรภ์และแกนนำภาคีเครือข่าย
    งบประมาณ 15,300.00 บาท
  • 2. กิจกรรมที่ 2 รณรงค์ประชาสัมพันธ์การมาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ในชุมชน ตำบล ปิตูมุดี
    รายละเอียด

    1.แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้านร่วมกับสมาชิกชมรมนมแม่อาสารณรงค์ประชาสัมพันธ์โดยการให้ความรู้และแจกแผ่นพับเรื่องการฝากครรภ์คุณภาพในชุมชนเขตตำบล ปิตูมุดี 2.ติดตามหญิงหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และหญิงตั้งครรภ์ที่ขาดนัดเพื่อมารับบริการฝากครรภ์ตามเกณฑ์ 3.สรุปและติดตามผลการดาเนินงานทุกไตรมาสและสรุปผลเมื่อสิ้นสุดปีงบประมาณ

    งบประมาณ 6,700.00 บาท
  • 3. กิจกรรมที่ 3 ติดตามหญิงหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และหญิงตั้งครรภ์ที่ขาดนัดเพื่อมารับบริก ารฝากครรภ์ตามเกณฑ์
    รายละเอียด

     

    งบประมาณ 3,000.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

ตำบลปิตูมุดี

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 25,000.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.เครือข่าย อสม. สมาชิกชมรมนมแม่อาสามีศักยภาพและมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการฝากครรภ์และสามารถประชาสัมพันธ์ในชุมชนได้ 2.อัตราการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์เพิ่มขึ้นตามเกณฑ์ตัวชี้วัด 3.อัตราการมาฝากครรภ์ของหญิงตั้งครรภ์ครบ 8 ครั้งตามเกณฑ์ 4.ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปิตูมุดี รหัส กปท. L3030

อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปิตูมุดี
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปิตูมุดี รหัส กปท. L3030

อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 25,000.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................