กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าน้ำ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการนักเรียนวัยใส ไร้เหา

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าน้ำ

โรงเรียนบ้านท่าน้ำตะวันตก

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

สุขภาพที่ดีเป็นสิ่งที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์
จะสามารถดำเนินชีวิตอยู่ได้อย่าง
มีความสุข โดยเฉพาะนักเรี
ยนควรได้รับการปลูกฝังให้มีความรู้
ดูแลสุขภาพของตนเองเพื่อให้มีอนามัยที่ดีใน
ทุกๆ ด้าน
โรคเหา เป็นโรคที่พบบ่อยมากในกลุ่มนักเรียนตั้งแต่ชั้นปฐมวัยจนถึงประถมศึกษาโดยเฉพาะนักเรียนหญิง
เกิดจากการไม่รักษาความสะอาดของร่างกาย เครื่องนอนเป็นโรคที่น่าชังเกียจ สำหรับคนทั่วไปนอกจากก่อให้เกิดความ
รำคาญกับผู้ที่เป็น เนื่องจากมีอาการคันศีรษะแล้วยังทำให้เสียสมาธิในการเรียน เสียบุคลิกภาพ เนื่องจากคันหนังศีรษะ และ
ยังเป็นพาหะนำไปติดผู้อื่นต่อไป วิธีการรักษาเหา จะต้องทำการรักษา ผู้ที่เป็นเหาและผู้ที่อยู่ใกล้ชิดควบคู่กันไป โดยต้องทำ
การควบคุมไม่ให้เหาแพร่กระจาย และป้องกันไม่ให้เกิด การติดเหาซ้ำโดย ใช้ยาเพื่อฆ่าเหา ซึ่งวิธีการรักษาเทาในรูปแบบ
ดังกล่าวเป็นวิธีการที่ทำได้ง่าย และเห็นผลชัดเจน นอกจากนี้ยังพบว่าใบน้อยหน่าสามารถกำจัดเทาได้ดีม
ไม่มีอาการแพ้เหมือนใช้สาร เคมีซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตได้ มาใช้ในการกำจัดเทา และอีกทั้ง
ให้ผู้ปกครองและนักเรียนได้รู้จักใช้ภูมิปัญญาและสมุนไพรท้องถิ่น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑.เพื่อสร้างแกนนำที่มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาโรคเหาในนักเรียน

ร้อยละ 90 ของแกนนำที่มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาโรคเหาในนักเรียน

0.00
2 ๒.เพื่อให้ความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับโรคเหา การดูแลตนเองและรักษาโรคเหา

ร้อยละ 90 ของนักเรียนที่เป็นเหามีความรู้เกี่ยวกับโรคเหา การดูแลตนเองและรักษาโรคเหา

0.00
3 ๓.เพื่อรักษาและควบคุมการระบาดของโรคเหาในเด็กนักเรียน

ร้อยละ 90 ของนักเรียนที่เป็นเหาได้รับการกำจัดเหาและหายจากการเป็นเหา

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 8
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 48
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 03/05/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพอนามัย

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพอนามัย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

๑.๑ กิจกรรมย่อย - กิจกรรมอบรมให้ความรู้ ทั้ง ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จำนวน ๑ วัน ค่าวิทยากร ๙0๐ บาท X ๒ คน = ๑,๘๐๐ บาท ค่าเอกสารการอบรมและประเมินผล = ๗๐๐ บาท = ๑๖๐ บาท ค่าไวนิล ๗๐๐บาท x ๑ แผ่น ค่าวัสดุอุปกรณ์ = ๑๒,๓๔๐ บาท รวม ๑๕,๐๐๐ บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10450.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 10,450.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑.ผู้ปกครองและนักเรียน สามารถดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายของตนเองได้ถูกต้อง
๒.ผู้ปกครองและนักเรียน สามารถนำสมุนไพรท้องถิ่นมาใช้กับนักเรียนในการกำจัดเหาได้
๓.ไม่มีการเกิดเหาในนักเรียนรายใหม่
๔. นักเรียนมีสมาธิในการเรียนเพิ่มขึ้น มีบุคลิกภาพดีขึ้น


>