กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการนักเรียนวัยใส ไร้เหา
รหัสโครงการ 66-L2994-02-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านท่าน้ำตะวันตก
วันที่อนุมัติ 2 พฤษภาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 3 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2566
งบประมาณ 10,450.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวพารีดาห์ อีแต
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลท่าน้ำ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 8 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 48 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สุขภาพที่ดีเป็นสิ่งที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ จะสามารถดำเนินชีวิตอยู่ได้อย่าง มีความสุข โดยเฉพาะนักเรี ยนควรได้รับการปลูกฝังให้มีความรู้ ดูแลสุขภาพของตนเองเพื่อให้มีอนามัยที่ดีใน ทุกๆ ด้าน โรคเหา เป็นโรคที่พบบ่อยมากในกลุ่มนักเรียนตั้งแต่ชั้นปฐมวัยจนถึงประถมศึกษาโดยเฉพาะนักเรียนหญิง เกิดจากการไม่รักษาความสะอาดของร่างกาย เครื่องนอนเป็นโรคที่น่าชังเกียจ สำหรับคนทั่วไปนอกจากก่อให้เกิดความ รำคาญกับผู้ที่เป็น เนื่องจากมีอาการคันศีรษะแล้วยังทำให้เสียสมาธิในการเรียน เสียบุคลิกภาพ เนื่องจากคันหนังศีรษะ และ ยังเป็นพาหะนำไปติดผู้อื่นต่อไป วิธีการรักษาเหา จะต้องทำการรักษา ผู้ที่เป็นเหาและผู้ที่อยู่ใกล้ชิดควบคู่กันไป โดยต้องทำ การควบคุมไม่ให้เหาแพร่กระจาย และป้องกันไม่ให้เกิด การติดเหาซ้ำโดย ใช้ยาเพื่อฆ่าเหา ซึ่งวิธีการรักษาเทาในรูปแบบ ดังกล่าวเป็นวิธีการที่ทำได้ง่าย และเห็นผลชัดเจน นอกจากนี้ยังพบว่าใบน้อยหน่าสามารถกำจัดเทาได้ดีม ไม่มีอาการแพ้เหมือนใช้สาร เคมีซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตได้ มาใช้ในการกำจัดเทา และอีกทั้ง ให้ผู้ปกครองและนักเรียนได้รู้จักใช้ภูมิปัญญาและสมุนไพรท้องถิ่น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑.เพื่อสร้างแกนนำที่มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาโรคเหาในนักเรียน

ร้อยละ 90 ของแกนนำที่มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาโรคเหาในนักเรียน

0.00
2 ๒.เพื่อให้ความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับโรคเหา การดูแลตนเองและรักษาโรคเหา

ร้อยละ 90 ของนักเรียนที่เป็นเหามีความรู้เกี่ยวกับโรคเหา การดูแลตนเองและรักษาโรคเหา

0.00
3 ๓.เพื่อรักษาและควบคุมการระบาดของโรคเหาในเด็กนักเรียน

ร้อยละ 90 ของนักเรียนที่เป็นเหาได้รับการกำจัดเหาและหายจากการเป็นเหา

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 10,450.00 0 0.00
3 พ.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพอนามัย 0 10,450.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑.ผู้ปกครองและนักเรียน สามารถดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายของตนเองได้ถูกต้อง ๒.ผู้ปกครองและนักเรียน สามารถนำสมุนไพรท้องถิ่นมาใช้กับนักเรียนในการกำจัดเหาได้ ๓.ไม่มีการเกิดเหาในนักเรียนรายใหม่ ๔. นักเรียนมีสมาธิในการเรียนเพิ่มขึ้น มีบุคลิกภาพดีขึ้น

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 8 พ.ค. 2566 00:00 น.