กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ รหัส กปท. L8422

อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการชุมชนสะบือรังวิถีใหม่ ห่างไกลโรคNCDs
2.
ชื่อ
check_box
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลนราธิวาส
3.
หลักการและเหตุผล

หลักการและเหตุผล Noncommunicable diseases (NCDs) หรือ กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ซึ่งประกอบไปด้วยโรคหลักคือ โรคหัวใจและ หลอดเลือด โรคมะเร็ง โรคทางเดินหายใจอุดกั้นเรื้อรัง และโรคเบาหวานเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตของคน 36 ล้านคนทั่วโลกในแต่ละปี หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 63 ของสาเหตุการตายทั้งหมด และมากกว่า 14 ล้านคนเป็นผู้ที่เสียชีวิตในช่วงอายุระหว่าง 30 ถึง 70 ปี หรือเรียกว่าเป็นการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ประเทศไทยในช่วงทศวรรษที่ผ่านมากลุ่มโรคไม่ติดต่อได้คร่าชีวิตประชากรไทยถึง ร้อยละ 75 ของการเสียชีวิตทั้งหมด หรือราว 320,000 คนต่อปีในจำนวนนี้พบว่า ประมาณครึ่งหนึ่งหรือราวร้อยละ 55 เสียชีวิตที่อายุต่ำกว่า 70 ปีซึ่งองค์การอนามัยโลกจัดว่าเป็นการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร เมื่อพิจารณาความรุนแรงของโรคไม่ติดต่อที่เป็นสาเหตุการเสียชีวิต ก่อนวัยอันควรในโรค 4 โรคสำคัญ คือโรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจขาดเลือด โรคเบาหวาน และโรคทางเดินหายใจอุดกั้นเรื้องรัง
จากข้อมูลงานสถิติโรงพยาบาลเจาะไอร้อง สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง พบภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วยที่คุมระดับน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิตได้ ภาวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อยที่สุดคือ โรคเส้นเลือดสมองตีบ/แตก ตั้งแต่ปี 2561 พบ 80 ราย, ปี 2562 พบ82 ราย, ปี 2563 พบ 66 ราย, ปี 2564 พบ 66 ราย, และปี 2565 พบ76 รายรองลงมา โรคหลอดเลือดหัว ใจ ตั้งแต่ปี 2561 พบ 11 ราย, ปี 2562 พบ 14 ราย,ปี 2563 พบ 13 ราย, ปี 2564 พบ 15 ราย และปี 2565 พบ 15 ราย จากการเก็บข้อมูลเบื้องต้น มากกว่าร้อยละ 90 พบในกลุ่มขาดนัด และรับประทานยาไม่ต่อเนื่อง ชุมชนสะบือรัง เป็นชุมชน ส่วนหนึ่งฝั่งทิศตะวันออก ของหมู่บ้านเจาะไอร้อง ม.1 ต.จวบ อ.เจาะไอร้อง จ. นราธิวาส ประกอบด้วย 107 หลังคาเรือนประชากรอยู่จริงทั้งหมด516 คน แบ่งเป็น ผู้ชาย243 คน ผู้หญิง273คน กลุ่มอายุ แรกเกิด-8 ปี จำนวน 61 คน9-14ปี จำนวน 37 คน 15-34ปี จำนวน 136 คน 35-59ปี จำนวน 184 คน และ 60 ปี ขึ้นไป จำนวน 98คน (ข้อมูลจากการสำรวจจริงของอสม. เดือน มกราคม 2566) พบผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชนจำนวน 39 ราย แบ่งเป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 25 ราย โรคเบาหวาน จำนวน 10 รายโรคหอบ จำนวน2 ราย พบผู้ที่มีอาการแทรกซ้อน เช่น โรคเส้นเลือดสมอง หัวใจ จำนวน 1 รายโรคไต จำนวน1 ราย และจากการเก็บข้อมูลผู้เสียชีวิตในชุมชนสะบือรังตั้งแต่ปี 2561-2565 พบว่า ร้อยละ 80 เกิดจากภาวะแทรกซ้อนจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ ภาวะสั้นเลือดในสมองตีบ/แตก โรคหลอดเลือดหัวใจและ ร้อยละ 100 พบในกลุ่มผู้ป่วยขาดนัดและทานยาไม่ต่อเนื่อง ดังนั้นโรงพยาบาลเจาะไอร้องจึงสนใจทำโครงการชุมชนสะบือรังวิถีใหม่ห่างไกลโรคNCD เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมการดูแลสุขภาพตัวเองและครอบครัว สามารถป้องกันการเกิดโรคและลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้ โดยการจัดการตัวเองของชุมชนที่เหมาะสมตามบริบท และมีทีมสุขภาพเป็นที่ปรึกษา นอกจากนี้เครือข่ายชุมชนเช่น อสม. ผู้นำชุมชน อบต. อำเภอ ก็มีส่วนร่วมในการดูแลด้านสุขภาพชองชุมชนด้วย

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1. กลุ่มอายุ15 ปีขึ้นในชุมชน ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน 2.กลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนตามเกณฑ์ที่กำหนด 3. กลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง สามารถพบแพทย์ตามนัด
    ตัวชี้วัด : 1.อัตราการเกิดโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ กลุ่มป่วยในชุมชนสะบือรัง น้อยกว่า ร้อยละ5 2.อัตราการขาดนัดกลุ่มป่วยในชุมชนสะบือรัง น้อยกว่า ร้อยละ 10 3.กลุ่มอายุ15 ปีขึ้นในชุมชน เข้าร่วมโครงการมากกว่าร้อยละ 90
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 1.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. กิจกรรมที่1 ประชุมแต่งตั้งคณะทำงาน
    รายละเอียด
    • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อๆละ 50 บาทx 19 คน = 950บ.
    • ค่าอาหารว่าง จำนวน 1 มื้อๆละ25บาท x 1 วัน x 19คน = 475บ.
    • ค่าป้ายไวนิลโครงการชุมชนต้นแบบห่างไกลโรคNCDชุมชนสะบือรัง ขนาด 1.2 เมตร x 2.4 เมตร จำนวน 1ป้าย = 720 บาท รวมงบประมาณ กิจกรรมที่ 1 ทั้งสิ้น2,145 บาท
    งบประมาณ 2,145.00 บาท
  • 2. กิจกรรมที่2 คัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน กลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป จำนวน 100 คน
    รายละเอียด
    • ค่าอาหารว่าง จำนวน 1 มื้อๆละ25บาท x 1 วัน x 100คน = 2500บ.
    • ค่าป้ายไวนิลคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานขนาด 1.2 เมตร x 2.4 เมตร จำนวน 1ป้าย = 720 บาท
    • รวมงบประมาณ กิจกรรมที่2 ทั้งสิ้น 3,220 บาท
    งบประมาณ 3,220.00 บาท
  • 3. กิจกรรมที่3 คลินิกสะบือรังซีฮัต
    รายละเอียด
    • สมุดทะเบียนผู้ป่วยจำนวน 3 เล่ม x 27 บาทจำนวน  81  บาท
    • ปากกา จำนวน 10 ด้าม x5 บาท = 20 บาท
    • ไม้บรรทัด จำนวน 2 ด้าม x25 บาท = 50 บาท
    • กระดานไวท์บอร์ด ขนาด 60x90 ซม. = 365 บาท
    • รวมงบประมาณ กิจกรรมที่2 ทั้งสิ้น 516 บาท
    งบประมาณ 516.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 10 พฤษภาคม 2566 ถึง 29 กันยายน 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 5,881.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. สามารถลดอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและภาวะแทรกซ้อนจากโรคได้
  2. สามารลดอัตราการเสียชีวิตจากโรคแทรกซ้อนของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ รหัส กปท. L8422

อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ รหัส กปท. L8422

อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 5,881.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................