กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แค

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการชุมชนปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพผู้บริโภค

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แค

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข รพ.สต.บ้านคูนายสังข์

1.นายกนก พิรุณ
2.นางสมนึก แก้วสุข
3.นายประเสริฐ พุทธศรี
4.นางหนูเหิม ศรีมณี
5.นางฐานิดา มหาเมฆ

หมู่ที่ 6 - 7 ตำบลแค

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน (สารเร่งเนื้อแดงในเนื้อสุกร สารกันราหรือกรดซาลิซิลิค สารฟอกขาว สารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน หรือสารละลายฟอร์มาลดีไฮด์ และยาฆ่าแมลงหรือสารเคมีกำจัดศัตรูพืช)

 

45.32
2 ร้อยละของผู้ประกอบการร้านอาหาร/แผงลอยผ่านการอบรมด้านสุขาภิบาลอาหารในร้านอาหารและแผงลอยที่ได้มาตรฐาน

 

30.00
3 ร้อยละของร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารได้มาตรฐาน Clean Food Good Taste

 

30.00
4 ร้อยละของร้านชำผ่านเกณฑ์ร้านชำติดดาว

 

62.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน

ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน (สารเร่งเนื้อแดงในเนื้อสุกร สารกันราหรือกรดซาลิซิลิค สารฟอกขาว สารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน หรือสารละลายฟอร์มาลดีไฮด์ และยาฆ่าแมลงหรือสารเคมีกำจัดศัตรูพืช)

45.32 20.00
2 เพิ่มร้อยละของร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารได้มาตรฐาน Clean Food Good Taste

ร้อยละของผู้ประกอบการร้านอาหาร/แผงลอยมีความรู้เกี่ยวกับสุขาภิบาลอาหาร

30.00 70.00
3 เพิ่มร้อยละของร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารได้มาตรฐาน Clean Food Good Taste

ร้อยละของร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารได้มาตรฐาน

30.00 70.00
4 เพิ่มร้อยละของร้านชำผ่านเกณฑ์ร้านชำติดดาว

ร้อยละของร้านชำผ่านเกณฑ์ร้านชำติดดาว

62.00 75.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่มผู้ประกอบการร้านจำหน่ายอาหารและร้านขายของชำ 47

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประชุมชี้แจงโครงการ/วางแผนการดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมประชุมชี้แจงโครงการ/วางแผนการดำเนินงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมประชุมชี้แจงโครงการ/วางแผนการดำเนินงาน โดยมีรายละเอียดค่าใช้จ่าย ดังนี้ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภค จำนวน 25 บาท x 10 คน เป็นเงิน 250  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 พฤษภาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

คณะทำงานสามารถดำเนินการตามโครงการได้ถูกต้อง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
250.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมอบรมให้ความรู้

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมให้ความรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมอบรมให้ความรู้
โดยมีรายละเอียดค่าใช้จ่าย ดังนี้ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับกลุ่มเป้าหมาย 47 คน x 25 บาท x 2 มื้อ เป็นเงิน 2,350 บาท - ค่าอาหารกลางวันและเครื่องดื่ม 47 คน  x 50 บาท เป็นเงิน 2,350 บาท -  ค่าตอบแทนวิทยากร ชั่วโมงละ 600 บาท X  6 ชั่วโมง  เป็นเงิน 3,600  บาท - ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ ขนาด 1.2 X 2.4 เมตร เป็นเงิน  500 บาท - ค่าจัดทำเอกสาร/วัสดุอุปกรณ์ประกอบการอบรม 47 คน  x 50 บาท เป็นเงิน  2,350 บาท
รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 11,150 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสารตกค้างในอาหารมากขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11150.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมตรวจร้านค้า/ตรวจอาหาร

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมตรวจร้านค้า/ตรวจอาหาร
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมตรวจร้านค้า/ตรวจอาหาร โดยมีรายละเอียดค่าใช้จ่าย ดังนี้ -ค่าชุดตรวจอาหาร   เป็นเงิน 6,200 บาท - ค่าชุดทดสอบสารในผลิตภัณฑ์สุขภาพ เป็นเงิน 4,160 บาท - ค่าป้าย สัญลักษณ์อาหารสะอาด รสชาติอร่อย (CFGT)  เป็นเงิน 800 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 11,160 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีฐานข้อมูลร้านค้าที่มีสารตกค้างและร้านที่ผ่านการประเมินได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11160.00

กิจกรรมที่ 4 ประชุมสรุปโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ประชุมสรุปโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมสรุปโครงการ โดยมีรายละเอียดค่าใช้จ่าย ดังนี้ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับแกนนำจำนวน 25 บาท x 10 คน เป็นเงิน 250  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กันยายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีรายงานผลการสรุปโครงการจำนวน 1 เล่ม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
250.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 22,810.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ผู้ประกอบการร้านชำ แผงลอยแผงลอยจำหน่ายอาหารสด และอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภค มีความรู้ เรื่องอาหาร ยา เครื่องสำอาง และผลิตภัณฑ์สุขภาพ
2.อสม.ติดตามให้คำแนะนำร้านชำแผงลอยได้ถูกต้อง
3.แผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐาน Clean Food Good Taste
4.ร้านชำผ่านเกณฑ์ร้านชำติดดาว


>