กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หน้าถ้ำ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย ฝากครรภ์คุณภาพ ปีงบประมาณ 2566

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หน้าถ้ำ

รพ.สต.หน้าถ้ำ

ตำบลหน้าถ้ำ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอนามัยแม่และเด็ก

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 รากฐานสำคัญของการพัฒนาประเทศ คือ ทรัพยากรบุคคล และการเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพ จะต้องได้รับการพัฒนาตั้งแต่ในครรภ์มารตา โดยเริ่มตั้งแต่การดูแลหญิงมีคภ์อย่างมีคุณภาพ เป็นการเฝ้า ระวังภาวะแทรกข้อนตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ ระหว่างตั้งครรภ์ คลอดและหลังคลอดได้ เ

 

37.00

รากฐานสำคัญของการพัฒนาประเทศ คือ ทรัพยากรบุคคล และการเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพ
จะต้องได้รับการพัฒนาตั้งแต่ในครรภ์มารตา โดยเริ่มตั้งแต่การดูแลหญิงมีคภ์อย่างมีคุณภาพ เป็นการเฝ้า
ระวังภาวะแทรกข้อนตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ ระหว่างตั้งครรภ์ คลอดและหลังคลอดได้ เช่น การคลอดก่อนกำหนด
การแท้ง หารกคลอตน้ำหนักน้อย โรคธาลัสซีเมีย โรคเบาหวาน โรคความตันโลหิตสูง ภาวะโลหิตจาง ภาวะ
ติดเชื้อจากแม่สู่ลูก เป็นตัน ปัญหาเหล่านี้ถ้ไม่ใต้รับการดูแลและแก้ไขต่อเนื่องอย่างมีประสิทธิภาพแล้ว อาจ
ส่งผลกระทบต่อแม่และเด็ก ในด้านความเสี่ยงระหว่างตั้งครรภ์ คลอดและหลังคลอดได้รามทั้งการส่งเสริมให้แม่
เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวนาน 6 เดือน
จากการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหน้าถ้ำ
ปีงบประมาณ 2565 หญิงตั้งครรภ์รายไหม่มีจำนวน 37 คน ฝากครรภ์ก่อน 12 สับดาห์ (ฝากครรภ์คุณภาพ)
จำนวน 32 คน คิดเป็นร้อยละ 86.49 (เกณฑ์ร้อยละ 75) หญิงคลอด จำนวน 44 คน คลอดครบกำหนด 44 คน
คิดเป็นร้อยละ 100 คลอดก่อนกำหนด 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 ฝากตรรภ์ตรบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ จำนวน 30 คน
คิดเป็นร้อยละ 85.71 (เกณฑ์ร้อยละ 75) ทารกแรกเกิดมีจำนวน 39 คน น้ำหนักทารกแรกเกิดน้อยกว่า 2,500
กรัม จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 7.69 (เกณฑ์น้อยกว่าร้อยละ 7)
จากข้อมูลดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหน้าถ้ำได้เห็นถึงความสำคัญในการลด
ปัญหาสุขภาพทุกประเภทที่อาจจะเกิดขึ้นในหญิงมีครรภ์ ขณะตั้งครรภ์ ระหว่างคลอดและหลังคลอด โดยเริ่ม
ตั้งแต่การตั้งครรภ์ เพื่อเป็นการพัฒนาคนตั้งแต่ระยะเริ่มดันของชีวิตและเนื่องจากจังหวัดยะลาเป็นพื้นที่พิเศษ
มีขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อที่แตกต่างกัน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหน้าล้ำ
จึงได้จัดทำโครงการลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย ฝากครรภ์คุณภาพขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์

หญิงตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์(ร้อยละ)

80.00 80.00
2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ครบ 8 ครั้ง ตามเกณฑ์

หญิงตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ครบ 8 ครั้ง ตามเกณฑ์(ร้อยละ)

80.00 80.00
3 เพื่อให้ทารกแรกคลอดมีน้ำหนักมากกว่า 2,500 กรัม

ทารกแรกคลอดมีน้ำหนักมากกว่า 2,500 กรัม(ร้อยละ)

80.00 80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 40
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/06/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรม ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย ฝากครรภ์คุณภาพ ปีงบประมาณ 2566

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรม ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย ฝากครรภ์คุณภาพ ปีงบประมาณ 2566
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ขั้นเตรียมการ 1. จัดทำโครงการเพื่อเสนออนุมัติ 2. จัดเตรียมข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย 3. จัดเตรียมความพร้อมด้านสถานที่สำหรับการอบรม ขั้นดำเนินการ 1. ประชุมชี้แจงโครงการแก่ ฮสม.และแกนนำชุมชน 2. จัดอบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์ สามื ญาติและหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่ต้องการมีบุตร 3. สนับสนุนอาหารต่อหญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยง 4. เยี่ยมมารดาและทารกหลังคลอด
กิจกรรม 1. จัดประชุมชี้แจงโตรงการแก่ อสม.และแม่อาสา จำนวน 40 คน 2. จัดอบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์ สามี ญาติและหญิงวัยเจริญพันธุ์ ที่ต้องการมีบุตร จำนวน 20 คน 3.สนับสนุนอาหารต่อหญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยง 4. เยี่ยมมารตาและทารกหลังคลอด
งบประมาณ 1. จัดประชุมขี้แจงโครงการแก่ อสม.และแม่อาสา จำนวน 40 คน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 40 คน X 25 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท 2. จัดอบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์ สามี ญาติและหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่ต้องการมีบุตร จำนวน 20 คน - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 20 คน X 25 บาท x 2 มื้อ เป็นเงิน 1,000 บาท - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 20 คน X 80 บาท เป็นเงิน 1,600 บาท ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 1 คน x 6 ชั่วโมงๆละ 300 บาท เป็นเงิน  1,800 บาท 3. สนับสนุนอาหารแก่หญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยง  จำนวน 10 ชุด
  - นม 1 กล่อง/วัน กล่องละ 10 บาท จำนวน 60 วัน * 10 คน เป็นเงิน 6,000 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 11,400 บาท (หนึ่งหมื่นหนึ่งพันสี่ร้อยบาทถ้วน)

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ไม่มีมารดาและทารกตาย
  2. ทารกแรกคลอดมีน้ำหนักมากกว่า 2,500 กรัม
  3. ป้องกันการคลอดก่อนกำหนดได้
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11400.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 11,400.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ไม่มีมารดาและทารกตาย
2. ทารกแรกคลอดมีน้ำหนักมากกว่า 2,500 กรัม
3. ป้องกันการคลอดก่อนกำหนดได้


>