แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล เขตภาษีเจริญ รหัส กปท. L943448
อำเภอภาษีเจริญ จังหวัดกรุงเทพมหานคร
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1.นางสาววิไล อยู่ยงสิน
2.นายสำเริง สมานวง
3.นายสุวิทย์ สุขเกษม
4.นางสมใจ ฉ่อนเจริญ
5.นางประหยัด ศรีสุข
ปัจจุบันโครงสร้างประชากรของประเทศไทยมีสัดส่วนผู้สูงอายุเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งกำลังอยู่ในช่วงการเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ และสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ในภาวะเช่นนี้คือ การเตรียมพร้อมเพื่อการป้องกันการเกิดโรคภัยต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นตามมาพร้อมๆ กับอายุที่ยืนยาวขึ้น และภาวะหนึ่งที่มักจะเกิดขึ้นกับผู้สูงอายุ คือ ภาวะพลัดตกหกล้ม ซึ่งเกี่ยวข้องโดยตรงกับอายุที่มากขึ้น ความเสื่อมของร่างกายและโรคเรื้อรังต่างๆ ในผู้สูงอายุ ส่งผลให้ร่างกายไม่แข็งแรงและการทรงตัวได้ไม่ดีพอ จึงทำให้เสี่ยงต่อการพลัดตก หกล้มได้ง่ายกว่าวัยอื่นๆ หลายเท่าตัว บางรายอาจ มีแค่อาการบาดเจ็บเล็กน้อยหลังหกล้ม แต่บางรายกลับเกิดการบาดเจ็บรุนแรง เช่น กระดูกหัก ภาวะเลือดคั่งในสมอง อัมพฤกษ์ อัมพาต และรุนแรงที่สุด คือ เสียชีวิต ผลกระทบของการพลัดตกหกล้มส่งผลทั้งทางด้านร่างกาย และจิตใจ ผลกระทบต่อจิตใจทำให้เกิดการกลัวต่อการหกล้ม สูญเสียความมั่นใจในการทำกิจกรรม ผลกระทบด้านเศรษฐกิจต้องเสียค่ารักษา พยาบาล และการฟื้นฟูสภาพเป็นเวลานาน และการดูแลที่ต่อเนื่อง ตลอดจนส่งผลต่อการขาดรายได้ของสมาชิกในครอบครัวที่ต้องมาดูแลผู้สูงอายุที่ได้รับบาดเจ็บจากการพลัดตกหกล้ม แต่ปัญหาดังกล่าวสามารถป้องกันและแก้ไขได้หากเข้าใจถึงความเสี่ยงและการดูแลที่เหมาะสม ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลริโก๋ ได้ตระหนักถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นตามมา จากภาวะพลัดตก หกล้มในผู้สูงอายุ จึงได้จัดทำโครงการ “ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย ห่างไกลพลัดตกหกล้ม ปีงบประมาณ 2566” ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ และมีความรู้ในการป้องกันการเกิดภาวะพลัดตก หกล้ม และสามารถดูแลสุขภาพร่างกายของตนเองได้ ซึ่งจะส่งผลให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และสามารถใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุขต่อไป
-
1. เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุตัวชี้วัด : เพื่อให้ผู้สูงอายุ มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติตัวใน เรื่องการป้องกันการพลัดตกหกล้มได้ขนาดปัญหา 52.38 เป้าหมาย 60.00
-
2. เพื่อให้ผู้สูงอายุ ทราบแนวทางในการดูแลตนเอง และตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลตนเอง ป้องกันการพลัดตกหกล้มได้ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุ ทราบแนวทางในการดูแลตนเอง และตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลตนเอง ป้องกันการพลัดตกหกล้มได้ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
- 1. คัดกรองภาวะพลัดตกหกล้มในกลุ่มเป้าหมายรายละเอียด
คัดกรองภาวะพลัดตกหกล้มในกลุ่มเป้าหมาย
งบประมาณ 0.00 บาท - 2. อบรม ให้ความรู้ กลุ่มเป้าหมาย เรื่องการป้องกันการพลัดตกหกล้มได้รายละเอียด
อบรม ให้ความรู้ กลุ่มเป้าหมาย เรื่องการป้องกันการพลัดตกหกล้มได้
งบประมาณ 130,000.00 บาท - 3. สรุป ติดตามประเมินผล สร้างกลไกการดูแลผู้สูงอายุรายละเอียด
- จัดประชุมสรุปผลการดำเนินงาน
- จัดตั้งคณะทำงานกลไกดูแลผู้สูงอายุตามกลุ่มเป้าหมาย 30 คน
- ติดตามเยี่ยมเยียนผู้สูงอายุ
งบประมาณ 0.00 บาท
ตั้งแต่ วันที่ 1 กรกฎาคม 2566 ถึง 27 สิงหาคม 2566
ชุมชนกัลปพฤกษ์ ม.4
รวมงบประมาณโครงการ 130,000.00 บาท
1.ผู้สูงอายุ มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติตัวใน เรื่องการป้องกันการพลัดตกหกล้มได้ 2.ผู้สูงอายุ ทราบแนวทางในการดูแลตนเอง และตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลตนเอง ป้องกันการพลัดตกหกล้มได้ 3.เกิดปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้สูงอายุในกลุ่มเป้าหมาย ได้ทำกิจกรรรมและได้พบปะพูดคุยใกล้ชิดกัน
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล เขตภาษีเจริญ รหัส กปท. L943448
อำเภอภาษีเจริญ จังหวัดกรุงเทพมหานคร
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล เขตภาษีเจริญ รหัส กปท. L943448
อำเภอภาษีเจริญ จังหวัดกรุงเทพมหานคร
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................