กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน รหัส กปท. L5240

อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการเฝ้าระวังการบริโภคอาหารสะอาด ปลอดภัยจากสารปนเปื้อน และคุ้มครองผู้บริโภค รพ.สต.ท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี2566
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าหิน
3.
หลักการและเหตุผล

อาหารเป็นปัจจัย 4 ที่มีความจำเป็นต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์เป็นอย่างยิ่ง การบริโภคอาหารที่สุก สะอาด ถูกต้อง เหมาะสม ทั้งประเภท ปริมาณครบถ้วน 5 หมู่ ช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโต ช่วยซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ และยังช่วยสร้างเสริมภูมิคุ้มกันด้วย ในทางกลับกันการบริโภคอาหารที่ไม่สด สะอาด มีสารปนเปื้อนก็จะเป็นอันตรายแก่ผู้บริโภคได้อาหารจะสะอาดหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบที่สำคัญดังนี้ คือ อาหารหรือวัตถุดิบที่นำมาปรุง สถานที่ผลิตและประกอบการด้านอาหาร เช่น ร้านอาหาร แผงลอย ตลาด แผงขายอาหารสด และโรงครัว และร้านขายของชำ คนจำหน่าย คนปรุง และคนเสิร์ฟอาหาร ตลอดจนคนทำความสะอาดภาชนะ นอกจากนี้ก็ยังมีสิ่งแวดล้อมภายนอก เช่น แหล่งน้ำเสีย และแหล่งทิ้งขยะมูลฝอย เป็นต้น หากอาหารไม่สะอาด มีสารปนเปื้อน ปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ทำให้ผู้บริโภคมีอาการท้องเสียได้ จากสถานการณ์โรคอุจจาระร่วง ปี 2565 ของตำบลท่าหินได้รับรายงานผู้ป่วยโรค Diarrhea จำนวนทั้งสิ้น 35 ราย เป็นอัตราป่วย 1451.07 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต โดยพบมากในกลุ่มเด็ก 0-4 ปี อัตราป่วย 835.42 ต่อแสนประชากร ตามมาด้วยกลุ่มเด็กอายุ 5-9 ปี มีอัตราป่วย 294.37 ต่อแสนประชากรตามลำดับ โดยอาชีพส่วนใหญ่คือเด็กในปกครอง ซึ่งโรคอุจจาระร่วงยังเป็นปัญหาที่สำคัญของตำบลท่าหินและพื้นที่คาบสมุทรสทิงพระ โดยมีอัตราป่วยเกินกว่า 1000 ต่อแสนประชากร จากการดำเนินงานอาหารปลอดภัยและงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขของ รพ.สต.ท่าหิน ปี2565 ที่ได้ดำเนินการแล้วเสร็จ เช่น โดยอบรมพี่เลี้ยงเด็กอายุ 0-4 ปี จำนวน 20 คน และ 2-4 ปี จำนวน 20 คน และผู้ประกอบอาหารในโรงเรียน จำนวน 2 คน ผู้ประกอบอาหารในงานเลี้ยงของชุมชน 3 คน การตรวจสารปนเปื้อนในแผงลอยจำหน่ายอาหารจำนวน 1 แผง คิดเป็นร้อยละ 100 แม้การดำเนินงานสุขาภิบาลอาหารของ รพ.สต.ท่าหิน จะเน้นกลุ่มเด็ก 0-4 ปี พี่เลี้ยงเด็ก ผู้ประกอบอาหารในโรงเรียน งานวัดต่างๆแล้วแต่ไม่สามารถทำให้โรคอุจจาระร่วงลดลงได้ จำเป็นต้องดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง โดยอาศัยแกนนำสุขาภิบาลอาหารของตำบลท่าหิน เช่น นักเรียน ครู ร้านค้า ผู้ดูแลเด็กเล็กในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตัวแทนร้านค้า ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าหิน จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังการบริโภคอาหารสะอาด ปลอดภัยจากสารปนเปื้อนคุ้มครองผู้บริโภค รพ.สต.ท่าหิน ปี 2566 ขึ้นเพื่อประชาชนตำบลท่าหินมีสุขภาพดีปราศจากโรคที่เกิดจากการบริโภคอาหารไม่ถูกต้องต่อไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้ผู้ขายอาหารแผงลอยในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าหิน มีความรู้ในการดำเนินงานอาหารสะอาด ปลอดภัย ตระหนัก เห็นความสำคัญและร่วมรับผิดชอบในการพัฒนาให้แผงลอยผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
    ตัวชี้วัด : ผู้ขายอาหารแผงลอยในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าหินมีความรู้ในการดำเนินงานอาหารสะอาดปลอดภัยร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา 1.00 เป้าหมาย 1.00
  • 2. เพื่อให้กลุ่มแกนนำอบต. ผู้นำชุมชน อสม. ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน ในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าหิน มีความรู้เรื่องอาหารปลอดภัยสุขาภิบาลอาหาร สามารถเลือกซื้อ บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย
    ตัวชี้วัด : กลุ่มแกนนำ อบต. ผู้นำชุมชน อสม. ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและในโรงเรียน ในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าหินมีความรู้เรื่องอาหารปลอดภัยสุขาภิบาลอาหารร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา 34.00 เป้าหมาย 34.00
  • 3. เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายที่เข้มแข็งแก่ผุูบริโภค
    ตัวชี้วัด : เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายแก่ผู้บริโภค ร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา 34.00 เป้าหมาย 34.00
  • 4. เพื่อพัฒนาองค์กรปลอดโฟมและแผงลอยปลอดโฟม
    ตัวชี้วัด : เพื่อให้สถานประกอบการและร้านอาหาร แผงลอย ปลอดโฟมและพลาสติกที่เป็นอันตรายร้อยละ 100
    ขนาดปัญหา 5.00 เป้าหมาย 5.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. อบรมสุขาภิบาลอาหาร
    รายละเอียด

    อบรมสุขาภิบาลอาหาร จำนวน 34 คน 1.แผงลอยจำหน่ายอาหาร 2.กลุ่มแกนนำ อบต. 3.ผู้นำชุมชน 4.ผู้ประกอบการอาหารและครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และโรงเรียน 5.ตัวแทนร้านค้า ค่าใช้จ่ายในการอบรม ดังนี้ -ค่าอาหารกลางวันผู้เข้ารับการอบรมสุขาภิบาล จำนวน 34 คนx1มื้อx50บาท เป็นเงิน 1700บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้ารับการอบรมสุขาภิบาลอาหารจำนวน 34 คน x 2 มื้อ x 25 บาท เป็นเงิน 1700 บาท -ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการจัดอบรม เป็นเงิน 6150 บาท -ค่าป้ายไวนิล 800 บาท

    งบประมาณ 10,350.00 บาท
  • 2. อบรมสุขาภิบาลร่วมกับรถ Mobile สสจ.สงขลา
    รายละเอียด

    1.ค่าอาหารกลางวัน ครู และนักเรียน ที่ร่วมอบรมประชาสัมพันธ์ด้านอาหารปลอดภัยร่วมกับรถ Mobile ของจังหวัด จำนวน 14 คน x 50 บาท เป็นเงิน 700 บาท 2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ครูและนักเรียนที่ร่วมอบรมประชาสัมพันธ์ด้านอาหารปลอดภัยร่วมกับรถ Mobile จำนวน 14 คน x 2 มื้อ x 25 บาท เป็นเงิน 700 บาท

    งบประมาณ 1,400.00 บาท
  • 3. ตรวจสารปนเปื้อนในอาหารและทดสอบสารไอโอดีนในเกลือปรุงรส
    รายละเอียด

    1.ค่าชุดตรวจอาหารภาคสนามครบชุด จำนวน 1 ชุด เป็นเงิน 2500 บาท 1.1ค่าชุดตรวจ Sl-2 เป็นเงิน 1500 บาท 1.2ค่าชุดทดสอบเกลือไอโอดีน (I-KIT) จำนวน 1 ชุด เป็นเงิน 250 บาท

    งบประมาณ 4,250.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

หมู่ที่ 1-6 ตำบลท่าหิน

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 16,000.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

ผู้ประกอบการอาหาร แผงลอย มีความรู้เรื่องสุขาภิบาลอาหาร และปฏิบัติตามมาตรฐานของสถานประกอบการ ประชาชนมีความรู้ เกิดความตระหนัก และเห็นความสำคัญในการเลือกซื้อและบริโภคอาหารที่สะอาดและปลอดภัยได้คุณค่าทางอาหาร

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน รหัส กปท. L5240

อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน รหัส กปท. L5240

อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 16,000.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................