กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังมะปราง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการสร้างสุขภาพชุมชน อารมณ์ดี ทุกชีวีมีสุข

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังมะปราง

กลุ่มสร้างสุขภาพบ้านทุ่งหลวง.

1.นางนิทยา คงมีสุข
2.นางอารีย์ เทพพูลผล
3.นางศรษิรักษ์ ชูหอยทอง
4.นางสุณิต พงศ์แพทย์
5.นางจุฬาลักษณ์ เทพพูลผล

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

จากการส ารวจสถานการณ์ปัญหาสุขภาพของประชาชนในเขตรับผิดชอบจ านวน 5 หมู่บ้าน (หมู่ที 3 หมู่ที่ 4
หมู่ที่ 6 หมู่ที่ 7 และ หมู่ที่ 11 ) มีจ านวนประชากรทั้งหมด 4,269 คน พบว่าปัญหาสุขภาพ จากการสุ่มตรวจสุขภาพ
ในช่วงกลุ่มอายุ 15 – 59 ปี มีจ านวน ทั้งหมด 1,925 คน พบร้อยละ 60 การมีดัชนีมวลกายสูง กระดูกพรุน ความดัน
โลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง มีปัจจัยความเสี่ยงที่ละเลยการตรวจสุขภาพ ปัญหาสำคัญ คือ
1)บกพร่องความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเอง
2) ขาดแรงจูงใจในการออกกำลังกาย
3) ปัญหาในเรื่องของอุปสรรคทางวัฒนธรรม คือ ความอาย ซึ่งต้องการการเสริมสร้างพลังอ านาจในการแก้ไขปัญหาเหล่านี้
รูปแบบการเสริมสร้างพลังอ านาจเป็นรูปแบบ คือ การให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพร่วมกับการจัดกิจกรรม เพื่อสุขภาพ
ในแต่ละหมู่บ้าน
องค์ประกอบพื้นฐาน ได้แก่ ความเจ็บป่วยเรื้อรังที่สามารถป้องกันได้โดยการมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่เหมาะสม
การออกก าลังกาย การพักผ่อนหย่อนใจเพื่อคลายเครียด การรับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์ และการตรวจคัดกรองโรค
ด้วยตนเองเป็นต้น การออกก าลังกายเป็นพฤติกรรมสุขภาพประการหนึ่งที่ส าคัญ อย่างสม่ าเสมอจะให้ประโยชน์ทั้งต่อด้าน
ร่างกายและจิตใจ ด้านร่างกาย เช่น ระบบไหลเวียน ผลดีต่อการป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจ การออกก าลังกายท าให้ปอด
ขยายใหญ่ขึ้น เป็นการเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ช่วยลดอัตราเสี่ยงของ การเกิดกระดูกหักจากโรคกระดูกพรุนได้
(Osteoporosis) ได้ ช่วยในการเผาผลาญพลังงานของร่างกายเพิ่มขึ้น ลดการสะสมระดับของไขมันในร่างกาย ในเรื่องของ
ระบบภูมิคุ้มกันโรค การออกก าลังกายอย่างสม่ าเสมอประมาณ 4 ชั่วโมง หรือมากกว่านี้ต่อสัปดาห์ตั้งแต่เด็กวัยรุ่นจนโตเป็น
ผู้ใหญ่ จะช่วยเพิ่มภูมิต้านทาน ป้องกันการเกิด สารก่อมะเร็ง และเพิ่มการไหลเวียนของเม็ดโลหิตขาวท าให้ลดปัญหา
สุขภาพได้ ด้านจิตใจ การออกก าลังกายท าให้ร่างกายสดชื่นอิ่มเอิบ อารมณ์ดี ลดความตึงเตรียด และนอนหลับได้ดี และผลดี
ด้านสังคม คือ ช่วยให้มีสัมพันธภาพ และมิตรไมตรีต่อกัน มีความเอื้ออาทรต่อกันในชุมชน การที่ประชาชนทุกคนมีสุขภาพที่
ดีนั้นประชาชนจะต้องพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพได้มากขึ้น
กลุ่มสร้างสุขภาพ รพ.สต.บ้านทุ่งหลวง ได้ตระหนักถึงความส าคัญจึงได้จัดท า โครงการสร้างสุขภาพชุมชน อารมณ์ดี
ทุกชีวีมีสุข โดยการผสมผสานการดูแลสุขภาพหลากหลายวิธี เพื่อตอบสนองความต้องการที่หลากหลายของประชาตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเองชน และ
ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจและรับผิดชอบการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อน าไปสู่การส่งเสริมสุขภาพด้วยตนเองที่
ยั่งยืน จึงได้มีแนวคิดในการจัดท าโครงการเกี่ยวการส่งเสริมสุขภาพประชาชน ที่ครอบคลุมเกี่ยวการให้ความรู้ ส่งเสริมตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเอง

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อเป็นการสร้างสุขภาวะร่างกายของประชาชน

ร้อยละ 85 ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและเล็งเห็น ความส าคัญของสุขภาพและการป้องกันโรคภัยไข้เจ็บอัน ไม่พึงปรารถนา

0.00
2 2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนตระหนักและเล็งเห็นความส าคัญ ของสุขภาพและการป้องกันโรค

้อยละ 85 ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและเล็งเห็น ความส าคัญของสุขภาพและการป้องกันโรคภัยไข้เจ็บอัน ไม่พึงปรารถนา

0.00
3 3. เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บอันไม่พึงปรารถนา

้อยละ 85 ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและเล็งเห็น ความส าคัญของสุขภาพและการป้องกันโรคภัยไข้เจ็บอัน ไม่พึงปรารถนา

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1. อบรมให้ความรู้ บรรยายให้ ความรู้สุภาพดี ชีวีมีสุข 1 กิจกรรม อบรมให้ความรู้ บรรยายให้ความรู้ การควบคุม พัฒนา ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อ สุขภาพกายและจิตที่ดี

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1. อบรมให้ความรู้ บรรยายให้ ความรู้สุภาพดี ชีวีมีสุข 1 กิจกรรม อบรมให้ความรู้ บรรยายให้ความรู้ การควบคุม พัฒนา ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อ สุขภาพกายและจิตที่ดี
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าวิทยากร (ภาคทฤษฎี ) จ านวน 6 ชม.ๆละ 600 รวม
เป็นเงิน 3,600 บาท 2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จ านวน 40 คน ๆละ 2 มื้อๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 2 ,000 บาท 3.ค่าอาหารกลางวัน จ านวน 40 คน ๆละ 60 บาท เป็นเงิน
2,400 บาท 4.ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการจัดอบรม เป็นเงิน 2,100 บาท
รายละเอียด ดังนี้ 1.เครื่องชั่งน้ าหนัก จ านวน 1 เครื่อง ราคา 700 บาท 2.สมุดบันทึกภาวะสุขภาพ ขนาด 140207 mm จ านวน 60 แผ่น
เล่มละ 25 บาท จ านวน 40 เล่ม เป็นเงิน 1,000 บาท 3.ปากกาลูกลื่น จ านวน 40 เล่มๆละ 10 บาท เป็นเงิน 400 บาท
5. ค่าจัดท าคู่มือในการจัดอบรม จ านวน 40 เล่มๆละ 25
บาท เป็นเงิน 1.000 บาท
6.ค่าป้ายไวนิล ขนาด 1
3 เมตร ราคา 450 บาท เป็นเงิน
450 บาท
เป็นเงิน 11,550 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 กรกฎาคม 2566 ถึง 25 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11550.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 2. อบรมให้ความรู้ บรรยายให้ ความรู้สุภาพดี ชีวีมีสุข 1.เชิงปฏิบัติการารออกก าลังกาย

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2. อบรมให้ความรู้ บรรยายให้ ความรู้สุภาพดี ชีวีมีสุข 1.เชิงปฏิบัติการารออกก าลังกาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าวิทยากร(ภาคปฏิบัติ) จ านวน 2 คนๆละ 1 ชม.ๆละ
300บาท จ านวน 20 วัน เป็นเงิน 12,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
4 กรกฎาคม 2566 ถึง 22 กรกฎาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12000.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมอื่นๆ อภิปรายปัญหาอุปสรรค และสรุปผลการ ด าเนินโครงการ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมอื่นๆ อภิปรายปัญหาอุปสรรค และสรุปผลการ ด าเนินโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.การจัดท าสรุปรูปเล่ม ผลการด าเนินการจัดโครงการ
จ านวน 3 เล่มๆละ 100 บาท เป็นเงิน 300 บาท รวมเป็นเงิน 300 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
28 กรกฎาคม 2566 ถึง 25 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
300.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 23,850.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนได้รับความรู้และมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเกี่ยวกับวิธีการดูแลสุขภาพ การจัดการความเครียด อาหาร
และการป้องกันโรคต่างๆ
2.ประชาชนมีความตระหนักในความส าคัญของการส่งเสริมสุขภาพในการป้องกันโรคมากขึ้น
3.ประชาชนสามารถถ่ายทอดความรู้สู่บุคคลอื่นในครอบครัวได้


>