แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง รหัส กปท. L5191
อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1.นางคอรีเยาะ บ่อสู
2.นางอามีเนาะ กูแมเร๊าะ
3.นางสาวยามีล๊ะ บ่อสู
4.นางรอมล๊ะ ลาเต๊ะ
5.นายมานะฮ์ สาและ
การส่งเสริมสุขภาพ เป็นมิติหนึ่งทางสุขภาพที่มีความสำคัญมากที่จะช่วยให้เราดำรงชีวิตอยู่อย่างปกติสุข ในการส่งเสริมสุขภาพจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของมิติสุขภาพ เข้าใจหลักและวิธีปฏิบัติในการส่งเสริมสุขภาพ เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติในการส่งเสริมสุขภาพได้อย่างถูกต้อง การที่ประชาชนจะหันมาใส่ใจดูแลสุขภาพของตนเองนั้นจะเกิดขึ้นต่อเมื่อมีความเจ็บป่วยเกิดขึ้นกับตนเองแล้วเท่านั้น ซึ่งการปฏิบัติตัวแบบนี้เป็นการรักษาตนเองที่ปลายเหตุไม่มีทางที่จะใช้ชีวิตโดยปราศจากโรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆได้ การจัดการกับปัญหาด้านสุขภาพที่ต้นเหตุของปัญหาต่างหากที่จะสามารถรักษาร่างกายของมนุษย์ให้ดำรงชีวิตอยู่แบบปราศจากโรคภัย สาเหตุที่ทำให้ประชาชนเกิดปัญหาทางสุขภาพมากที่สุด คือการดำรงชีวิตในปัจจุบันที่ไม่รู้จักความเป็นอยู่ที่พอเพียง ทำให้ร่างการเกิดความเครียด วิตกกังวล การบริโภคอาหารที่เป็นผลเสียต่อสุขภาพ รวมไปถึงการพักผ่อนที่ไม่เพียงพอและปัญหาต่าง ๆที่ตามมาอีกมากมาย การหันกลับมาสนใจการใช้ชีวิตร่วมกับธรรมชาติ การพึ่งพาธรรมชาติตามแนวคิดทฤษฏีการแพทย์แผนไทยที่มุ่งดูแลสุขภาพแบบองค์รวมโดยมองมิติทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสิ่งแวดล้อม สิ่งเหล่านี้ช่วยเพิ่มความสมดุลให้กับชีวิตมนุษย์ ดังนั้นการเพิ่มพูนความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมให้แกประชาชนและชุมชนให้สามารถดูแลตัวเองได้จึงนำมาสู่การเปลี่ยนแปลงที่ทำให้เกิดการส่งเสริมสุขภาพห่างไกลโรคที่แท้จริงนวดเพื่อสุขภาพ เป็นแขนงหนึ่งของการแพทย์แผนไทย เพื่อช่วยในการบรรเทา ลดอาการปวดจากการทำงาน ความเครียด เพื่อลดความรุนแรงของอาการปวดกลุ่มกล้ามเนื้อ เพิ่มการไหลเวียนเลือด ผ่อนคลายกล้ามเนื้อและเส้นเอ็น พังผืด ช่วยการทำงานของระบบข้อต่อดีขึ้นและยืดอายุการใช้งานให้ยาวนานขึ้น กระตุ้นระบบประสาท บรรเทาอาการปวดต่างๆเช่น ปวดหลัง ปวดเอว ปวดสะโพก และอื่นๆได้รับองค์ความรู้การนวดเพื่อสุขภาพ อย่างถูกต้อง ทางทฤษฎีและปฏิบัติ ข้อห้ามข้อควรระวังได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ในการบรรเทาอาการปวด เคล็ดขัดยอก ยืดกล้ามเนื้อ นำไปดูแลสุขภาพของชุมชน
-
1. 1.ประชากรในพื้นที่ได้รับองค์ความรู้การทำน้ำมันมะพร้าวสกัดเย็นใช้เองตัวชี้วัด : ร้อยละ 20ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
2. 2.ประชากรในพื้นที่สามารถใช้น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็นในการนวดผ่อนคลายด้วยตนเองตัวชี้วัด : ร้อยละ 10ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
- 1. อบรมเชิงปฏิบัติการรายละเอียด
-ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 80 คน คนละ 60 บาท เป็นเงิน 4800 -ค่าอาหารว่าง จำนวน 80 คน คนละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 4600 - ค่าไวนิล จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 500 บาท - ค่าอุปกรณ์ทำน้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น เป็นเงิน 5,000 บาท
งบประมาณ 14,900.00 บาท
ตั้งแต่ วันที่ 17 กรกฎาคม 2566 ถึง 22 กันยายน 2566
ม.5 บ้านตาแปด ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
รวมงบประมาณโครงการ 14,900.00 บาท
๑.ผู้อบรมมีความรู้ความเข้าใจ สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง
๒.ผู้อบรมสามารถนวดผ่อนคลายกล้ามเนื้อได้อย่างถูกต้อง
๓.ผู้อบรมสามารถนวดผ่อนคลายโดยใช้น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น
๔.ผู้เข้าอบรมสามารถทำน้ำมันมะพร้าวสกัดเย็นใช้ในชีวิตประจำวันดูแลสุขภาพคลายกล้ามเนื้อได้
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง รหัส กปท. L5191
อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง รหัส กปท. L5191
อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................