กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะโหนง รหัส กปท. L5178

อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
พัฒนาศักยภาพการดูแลสุขภาพของผู้เปราะบางทางสังคม
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
รพ.สต.จะโหนง
3.
หลักการและเหตุผล

สังคมไทย ได้ก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์เมื่อมีสัดส่วนประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 20 หรืออายุ 65 ปีขึ้นไปเพิ่มขึ้น ประชากรผู้สูงอายุของประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจาก และคาดว่าจะเพิ่มเป็น14.5 ล้านคน หรือร้อยละ20 ในปี พ.ศ. 2568 แนวโน้มผู้สูงอายุอยู่คนเดียวหรืออยู่ลำพังกับคู่สมรสเพิ่มมากขึ้น ผู้สูงอายุจำนวนมากมีปัญหาด้านสุขภาพ ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตประจำวันอายุยิ่งสูงยิ่งเจ็บป่วย มีภาวการณ์พึ่งพาต้องการการดูแลอย่างต่อเนื่องและการดูแลระยะยาวปัญหาด้านสุขภาพต่างๆของคนในครอบครัวจะมีทุกบ้าน จะมากหรือจะน้อยขึ้นอยู่กับพฤติกรรมการใช้ชีวิตประจำวันอาจระยะเวลาหนึ่งหรือทั้งชีวิต ทั้งนี้รวมถึงกลุ่มผู้เปราะบางทางสังคมที่ต้องเพิ่มทักษะในการดูแลสุขภาพตนเองลดการเจ็บป่วยที่ถูกต้องตามแนวทางการจัดการสุขภาพดี เช่น เมื่อมีการเจ็บป่วยเล็กๆ น้อยๆ เช่น โรคไข้หวัด ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ โรคกระเพาะ จะไปใช้บริการที่ไหนสามารถประเมินความรุนแรงของโรคได้มากน้อยเพียงใด จะรักษาอย่างไร ที่ไหน ปรึกษาใครได้บ้าง มีผลต่อการประกอบอาชืพหรือไม่ ค่าใช้จ่ายเป็นอย่างไรทั้งนี้ต้องอาศัยการสร้างความรับรู้และแนวทางการดูแลสุขถาพของคนในครอบครัว หากดูเเลที่ไม่ถูกต้องอาจส่งผลต่สุขภาระยะยาว เช่น การดูเเลฟื้นฟูผู้พิการ เพื่อลดปัญหาเเผลกดทับ การดูเเลผู้ป่วยเบาหวาน เป็นต้นทำให้เกิดปัญหาภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ น้ำตาลในเลือดสูง หรือมีภาวะเเทรกซ้อนอื่นๆ หากดูเเลไม่ถูกต้องอาจส่งผลให้เกิดอันตรายหรือทำให้เกิดความพิการมากยิ่งขึ้น ดังนั้นหากประชาชนกลุ่มเสี่ยงหรือกลุ่มเปราะบางทราบปัญหาได้อย่างรวดเร็ว ว่องไว ทันทีถึงบ้านโดยทีมงานหมอครอบครัว หรืออสม. ได้สนับสนุนให้ชุมชนเเละครอบครัวสามารถดูเเลตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพมีระบบการเฝ้าระวังและส่งต่อที่ถูกต้อง ในกลุ่มเปราะบางของสังคมประกอบด้วยกลุ่มสตรีมีครรภ์และเด็กปฐมวัย กลุ่มผู้สูงอายุและกลุ่มผู้มีโรคประจำตัวเรื้อรังเพื่อลดอันตรายหรือความพิการที่อาจเกิดขึ้น จากการสำรวจข้อมูลพบว่า ประชาชนในเขตรับผิดชอบของโรพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจะโหนง รับผิดชอบ 6 หมู่บ้าน ข้อมูลผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่นคนผู้พิการจำนวน51 คน ผู้มีปํญหาโรคเรื้อรัง จำนวน 414 คน ผู้ป่วยติดบ้าน/เตียง จำนวน16 คน หญิงตั้งครรภ์ 16 คนทำให้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจะโหนงซึ่งมีบุคลากรสาธารณสุขจำนวนจำกัดไม่เพียงพอเเก่การให้บริการโดยเฉพาะการให้บริการในชุมชน ซึ่งพบว่ายังมีปัญหาสุขภาพอีกมากมายที่ยังเข้าไปไม่ถึง ทั้งนี้หากให้องค์กรต่างๆที่มีอยู่ในชุมชน โดยเฉพาะ อสม. ให้ได้รับการพัฒนาเพิ่มศักยภาพการดูแลประชาชนด้วยทักษะการเยี่ยมบ้านในรูปแบบหมอครอบครัวคนที่1 จักสามารถช่วยแก้ปัญหาสุขภาพเบื้องต้นให้กับประชาชนได้ ให้สามารถดูเเลผู้ป่วยติดเตียง ผู้สูงอายุติดบ้าน เเละผู้พิการในชุมชนได้ ตลอดจนคำแนะนำในการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ จากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข(หมอคนที่2)ตลอดจนการส่งต่อการดูแลสุขภาพไปยังผู้ที่เชี่ยวชาญหรือแพทย์(หมอคนที่3)ได้อย่างทันท่วงที ลดอันตรายต่อชีวิตและร่างกายได้อย่างเหมาะสม

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดูแลผู้เปราะบางของอสม./หมอครอบครัวคนที่1
    ตัวชี้วัด : 1.อสม./หมอครอบครัวคนที่1 มีความรู้ทักษะ ในการตรวจและประเมินสุขภาพประชาชนกลุ่มเปราะบางได้ 2.อสม./หมอครอบครัวคนที่1 มีทักษะในการจัดการข้อมูลการให้คำแนะนำที่่ถูกต้องด้านสุขภาพของประชาชนกลุ่มเปราะบางได้
    ขนาดปัญหา 70.00 เป้าหมาย 100.00
  • 2. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงบริการสุขภาพของผู้เปราะบางทางสังคม
    ตัวชี้วัด : 1.มีระบบจัดการข้อมูลสุขภาพของประชาชนกลุ่มเปราะบาง 2.มีการส่งต่อข้อมูลการดูแลสุขภาพของประชาชนกลุ่มเปราะบางอย่างต่อเนื่อง
    ขนาดปัญหา 30.00 เป้าหมาย 80.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ประชุมคณะทำงานและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
    รายละเอียด

    ประชุมเจ้าหน้าที่สาธารณสุข/ประธานหรือตัวแทน อสม.ของแต่ละหมู่บ้านเพื่อชี้แจงแผนและจัดทำโครงการ/กิจกรรม จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์

    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน18 คนๆละ 25 บาทเป็นเงิน450บาท
    งบประมาณ 450.00 บาท
  • 2. ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาความรู้ความเข้าใจของหมอครอบครัวคนที่1ต่อประเด็นกลุ่มผู้เปราะบางในพื้นที่
    รายละเอียด

    ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาความรู้ความเข้าใจของหมอครอบครัวคนที่1ต่อประเด็นเปราะบางในพื้นที่ 08.30-09.00 น ลงทะเบียน09.00-10.15 น สถานการณ์และปัญหาสุขภาพ 10.15-10.30 พัก 10.30-12.00 ประชุมให้ความรู้เสริมทักษะในการดูแลสุขภาพกลุ่มหญิงตั้งครรภ์เด็กปฐมวัยผู้สูงอายุผู้ป่วยโรคเรื้อรัง12.00-13.00 น พักเที่ยง 13.00-14.00 น. การดูแลสุขภาพที่พบบ่อย ประเด็น การทำแผล/การดูแลสายสวนอาหาร/ปัสสาวะ 14.00-14.15 พัก14.15-14.30 -16.00 น การทำฐานการเรียนรู้ตามประเด็นเปราะบาง 4 ฐาน16.00-16.30 น.สรุปผลปัญหาอุปสรรค

    • ค่าไวนนิลป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ 1 แผ่น เป็นเงิน 675 บาท
    • ค่าไวนิลแนวทาง/การดูแลสุขภาพกลุ่มเปราะบาง4 ฐานกิจกรรมๆละ 675 บาทรวม 2,700บาท
    • ค่ากระดาษ/อุปกรณ์เครื่องเขียน/เอกสารการประชุมเป็นเงิน 500 บาท
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับอสม./หมอครอบครัว/ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องจำนวน 75 คนๆละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 3,750 บาท
    • ค่าอาหารกลางวันจำนวน 75 คนๆละ 65 บาท เป็นเงิน 4,875 บาท
    • ค่าห้องประชุม 1,000 บาท
    งบประมาณ 13,500.00 บาท
  • 3. การฝึกทักษะการดูแลสุขภาพที่พบบ่อยในชุมชน
    รายละเอียด

    อสม.ฝึกปฏิบัติงานที่รพ.สต/ชุมชนวันละ 2 คนช่วงเวลาเวลา13.00-16.00 น. เน้นกิจกรรมการดูแลบาดแผล/สายสวนอาหาร/สายสวนปัสสาวะ16.00-16.30 น.สรุปผล ประเด็นปัญหา
    - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจนท.สาธารณสุข/อสม.จำนวน 1 มื้อ วันละ 3 คนๆละ 25 บาท จำนวน 23 วัน เป็นเงิน1,725 บาท

    งบประมาณ 1,725.00 บาท
  • 4. การจัดทำฐานข้อมูลสุขภาพเบื้องต้นของประชากรกลุ่มเปราะบาง
    รายละเอียด

    การสำรวจข้อมูลสุขภาพเบื้องต้นของประชากรกลุ่มเปราะบาง08.30-09.00 น ลงทะเบียน 09.00-10.15 น ความสำคัญของการบันทึกข้อมูลสุขภาพเบื้องต้น-ข้อมูลสุขภาพที่จำเป็น 10.15-10.30 พัก 10.30-12.00 การประสานงานและการส่งต่อปัญหาสุขภาพ12.00-13.00 น พักเที่ยง 13.00-15.15 น. การลงพื้นที่สำรวจภาวะสุขภาพกลุ่มเปราะบาง 15.15-15.30 พัก 15.30 -16.30 น สรุปผลปัญหาอุปสรรค

    • ค่ากระดาษอุปกรณ์เครื่องเขียนประกอบการประชุม500บาท
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับอสม./เจ้าหน้าที่สาธารณสุข/ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องจำนวน 75 คนๆละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 3,750 บาท
    • ค่าอาหารกลางวันจำนวน 75 คนๆละ 65 บาท เป็นเงิน 4,875 บาท
    • ค่าสมุดเบอร์ 2 บันทึกข้อมูลสุขภาพของกลุ่มเปราะบางจำนวน 65 ชุดๆละ 85 บาท เป็นเงิน5,525 บาท
    งบประมาณ 14,650.00 บาท
  • 5. การรณรงค์ส่งเสริมการดูแลสุขภาพของกลุ่มเปราะบาง
    รายละเอียด

    จัดหน่วยรณรงค์ส่งเสริมการดูแลสุขภาพของกลุ่มเปราะโดยทีมงานอสม./หมอครอบครัวคนที่1/เจ้าหน้าที่สาธารณสุข/ผู้นำชุมชนเยี่ยมบ้านกลุ่มผู้เปราะบางให้คำแนะนำและประเมินภาวะสุขภาพทุกคนระหว่างเวลา08.30-14.00 น หมู่ที่1จำนวน 2 วัน- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อๆละ 25บาท จำนวน 18 คนเป็นเงิน900บาท -ค่าอาหารกลางวัน2 มื้อๆละ 65บาท จำนวน 18 คนเป็นเงิน 2340 บาท หมู่ที่5จำนวน 1 วัน

    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 1 มื้อๆละ 25บาท จำนวน 10 คนเป็นเงิน 250บาท -ค่าอาหารกลางวัน1 มื้อๆละ 65บาท จำนวน 10 คนเป็นเงิน 650บาท หมู่ที่6จำนวน 1 วัน

    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 1 มื้อๆละ 25บาท จำนวน9 คนเป็นเงิน 225บาท

    • ค่าอาหารกลางวัน1 มื้อๆละ 65บาท จำนวน 9 คนเป็นเงิน 585บาท หมู่ที่7จำนวน 2 วัน

    -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 1 มื้อๆละ 25 บาทจำนวน 21 คนเป็นเงิน 1050บาท
    - ค่าอาหารกลางวัน2 มื้อๆละ 65บาท จำนวน 21 คนเป็นเงิน 1730บาท

    หมู่ที่8จำนวน 1 วัน

    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 1 มื้อๆละ 25บาท จำนวน 13 คนเป็นเงิน 325บาท
    • ค่าอาหารกลางวัน1 มื้อๆละ 65บาท จำนวน 13 คนเป็นเงิน845บาท

    หมู่ที่10 จำนวน 1 วัน

    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 1 มื้อๆละ 25 บาทจำนวน 12 คนเป็นเงิน 300บาท -ค่าอาหารกลางวัน1 มื้อๆละ 65บาท จำนวน 13 คนเป็นเงิน780บาท
    • ค่าไวนิล/สื่อประชาสัมพันธ์/แผ่นพลิกส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเป็นเงิน3500บาท-อุปกรณ์กระจายเสียงในการประชาสัมพันธ์ความรอบรู้ จำนวน 1 ชุดเป็นเงิน 7,800 บาท
    • เครื่องชั่งน้ำหนักขนาดไม่เกิน 200 กิโลกรัมราคา 10,100 บาท
    งบประมาณ 32,380.00 บาท
  • 6. การติดตามผลประเมินผลและความคาดหวังต่อการจัดการสุขภาพกลุ่มเปราะบาง
    รายละเอียด

    การติดตามผลประเมินผลและความคาดหวังต่อการจัดการสุขภาพกลุ่มเปราะบาง ประกอบด้วยตัวแทนกลุ่มผู้เปราะบาง/เจ้าหน้าที่สาธารณสุข/อสม./หมอครอบครัวคนที่1 /ผู้นำชุมชน 13.00-13.30 นลงทะเบียน 13.30-15.30น. -นำเสนอข้อมูลสุขภาพกลุ่มผู้เปราะบางประเมินการจัดกิจกรรม-ความคาดหวังที่จะได้รับบริการของกลุ่มผู้เปราะบางโดยการสอบถาม/สังเกตุประเมินความเข้าใจต่อการส่งต่อและรับบริการสุขภาพในระดับที่สูงขึ้น-สรุปประเด็นปัญหา/อุปสรรค -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับอสม./เจ้าหน้าที่สาธารณสุข/ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องจำนวน 80 คนๆละ 25 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 2000 บาท
    -ค่าเอกสารการประชุม จำนวน 500 บาท-ค่าจัดทำรายงานสรุปผลจำนวน 3 ชุดๆละ 200 บาทรวม600บาท

    งบประมาณ 3,100.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 7 สิงหาคม 2566 ถึง 28 ธันวาคม 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

ทุกหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบของรพ.สต.จะโหนง

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 65,805.00 บาท

หมายเหตุ : ***ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยกันได้***

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

ประชาชนและกลุ่มเปราะบางทางสังคมได้รับบริการดูแลสุขภาพเบื้องต้นได้อย่างเหมาะสมเป็นระบบ และส่งต่อข้อมูลประสานความร่วมมือจากอสม./หมอครอบครัวคนที่1 หากมีปัญหาสุขภาพสามารถเข้าใช้บริการสุขภาพใกล้บ้านจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข/หมอครอบครัวคนที่2 หรือการรับบริการทางการแพทย์ที่สูงขึ้นจากแพทย์/หมอครอบครัวคนที่3ในลักษณะของการดูแลอย่างต่อเนื่องสร้างความประทับใจให้กับผู้รับบริการ

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะโหนง รหัส กปท. L5178

อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะโหนง
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะโหนง รหัส กปท. L5178

อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 65,805.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................