กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะโหนง รหัส กปท. L5178

อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการบริโภคผักปลอดภัย ปลอดโรค ปลอดสารเคมี
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
ชมรม อาสาสมัครสาธารณสุข รพ.สต.จะโหนง
กลุ่มคน
1. นายประถม ประทุมมณี 0872933352

2. นางรัตนดา เพชรบุญวรรณโณ0869559323

3. นางพรรณีรงหนู0828257954

4. นายวิมลทองชนะ 0811379851

5. นายลาภย่องยัง0895964289

6. นายเจะฮาบ เร๊ะด้วน 0810996926

7. นางอารีย์ นวลเจริญ 0620611155
3.
หลักการและเหตุผล

สารเคมีกำจัดศัตรูพืช สามารถทำอันตรายต่อสุขภาพร่างกายได้ทั้งมนุษย์และสัตว์ คือ จะไปทำลายอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมอง ผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์และตา ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่าเราจะได้รับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใด และปริมาณมากน้อยเท่าใด ส่วนใหญ่แล้วการที่อวัยวะภายในร่างกายได้สะสมสารเคมีไว้จนถึงขีดที่ร่างกายไม่อาจทนได้ จึงแสดงอาการต่างๆ ขึ้นมา เช่น โรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือดและระบบภูมิคุ้มกัน ผักและผลไม้เป็นแหล่งของวิตามิน เกลือแร่ ใยอาหารและสารพฤกษเคมีต่างๆ แม้ว่าผักและผลไม้จะเป็นอาหารที่มีประโยชน์และมีสารอาหารที่จำเป็นต่อร่างกาย แต่สิ่งหนึ่งที่ผู้บริโภคกังวลก็คือสารเคมีกำจัดแมลงที่ตกค้างอยู่ในผักและผลไม้ สารพิษนั้นจะมีปริมาณมากหรือน้อยเพียงใดไม่สามารถคาดคะเนด้วยสายตาได้ ซึ่งการได้รับสารพิษเข้าสู่ร่างกายอาจก่อให้เกิดโทษและโรคร้ายแรงได้ ดังนั้น เราควรรู้จักวิธีการเลือกซื้อผักและผลไม้ รวมถึงวิธีการล้างให้ปลอดภัยจากการตกค้างของสารเคมีกำจัดศัตรูพืช สาเหตุการเกิดสารพิษตกค้างในผัก เกิดจากพฤติกรรมของผู้บริโภคที่ชอบเลือกซื้อเฉพาะผักที่สดสวยงามไม่มีร่องรอยการทำลายของโรคและแมลง ผู้ปลูกผักบางรายมีความรู้และประสบการณ์ในเรื่องของสารเคมีเป็นอย่างดีแต่ไม่นำหลักการใช้ที่ถูกต้องไปปฏิบัติหรือละเลยเสียโดยมุ่งหวังแต่ประโยชน์ผลกำไรและความสะดวกเป็นหลักโดยขาดจิตสำนึกและความรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม ผู้ปลูกผักบางรายขาดความรู้ความเข้าใจในการป้องกันกำจัดโรคและแมลงที่ถูกต้องเมื่อประสบปัญหาการเข้าทำลายของโรคและแมลง ทางเลือกแรกที่นำมาใช้คือ การฉีดพ่นสารเคมีโดยไม่ได้คำนึงถึงวิธีการอื่นเลย เนื่องจากสารเคมีมีประสิทธิภาพสูงให้ผลเร็วสะดวกในการใช้และหาซื้อได้ง่ายดังนั้นเมื่อชาวสวนนิยมใช้กันอย่างแพร่หลายปัญหาที่ตามมาก็คือเกิดสารพิษตกค้างในผักที่เกินค่าความปลอดภัยซึ่งเป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อเกษตรกรและผู้บริโภค ประชาชนโดยทั่วไปยังมีมาตรฐานในการครองชีพที่ไม่สูงนักมีพฤติกรรมในการใช้ชีวิตและการบริโภคที่ง่าย ๆ โดยไม่ค่อยคำนึงถึงความปลอดภัยในการบริโภคเท่าที่ควรผักปลอดภัยจากสารพิษจึงมีได้รับความนิยมมากนัก

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อเพิ่มพื้นที่เกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของพื้นที่เกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ เมื่อเทียบกับพื้นที่เกษตรทั้งหมด
    ขนาดปัญหา 19.50 เป้าหมาย 25.00
  • 2. เพื่อลดประชาชนที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดเกินมาตรฐานความปลอดภัย
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดเกินมาตรฐานความปลอดภัย
    ขนาดปัญหา 4.50 เป้าหมาย 1.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ประชุมวางแผนชี้แจงโครงการและการหาสมาชิกเข้าร่วมโครงการ
    รายละเอียด
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 10 คน ๆละ 25 บาท เป็นเงิน 250 บาท
    • ค่าเอกสารแบบฟอร์มการรับสมัครเข้าร่วมโครงการ 205 บาท
    งบประมาณ 455.00 บาท
  • 2. การพัฒนาศักยภาพผู้บริโภคให้สามารถลดหรือเลี่ยงผักที่มีสารเคมีตกค้างทางการเกษตร การบริโภคที่ปลอดภับ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
    รายละเอียด

    ผู้เข้าอบรม 60 คน เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง 4 คน วิทยากร 1 คนรวม 65 คน

    1. การลดหรือเลี่ยงผักที่มีสารเคมีตกค้างทางการเกษตร

    2. การบริโภคที่ปลอดภับ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบริโภค

    • ค่าวิทยากรจำนวน 2 คน รวม 5 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม วิทยากรและเจ้าหน้าที่ จำนวน 60 คนๆละ 2 มื้อ ๆละ25 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
    • อาหารกลางวันจำนวน 65 คนๆละ 65 บาท เป็นเงิน 4,225 บาท
    • ค่าป้ายโครงการ กว้าง 1 เมตร ยาว 2.5 เมตร เป็นเงิน 375 บาท
    • ค่าวัสดุการอบรม 500 บาท
    • วัสดุสาธิต (เศษผัก ผลไม้ จำนวน 300 บาท น้ำหมัก 100 บาท EM.1 ขวด 100 บาท กากน้ำตาลหรือน้ำตาลทรายแดง 3 กก. เป็นเงิน 100 บาท ถังน้ำ 2 ใบ เป็นเงิน 200 บาท มีด 1 เล่ม 50 บาท เขียง 1 อัน 80 บาท กะละมัง 3 ใบ 150 บาท) เป็นเงิน 1,080 บาท
    งบประมาณ 15,180.00 บาท
  • 3. เจาะเลือดหาสารเคมีตกค้างในเลือด ครั้งที่ 1 และอบรมเชิงปฏิบัติผู้บริโภคและเกษตรกรในการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากสารเคมีในผักผลไม้
    รายละเอียด

    ผู้เข้าร่วมกิกรรม 60 คน วิทยากร 1 คน เจ้าหน้าที่ 4 คน รวม 65 คน

    • ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่เจาะและตรวจเลือด จำนวน 2 คน ๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
    • ค่าวิทยากรจำนวน 5 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 65 คนๆละ 2 มื้อ ๆละ 25 บาท เป็นเงิน 3,250 บาท
    • อาหารกลางวัน จำนวน 65 คนๆละ 65 บาท เป็นเงิน 4,225 บาท
    • ค่าน้ำยาชุดตรวจสารเคมีในเลือด พร้อมอุปกรณ์ (อุปกรณ์ ประกอบด้วย เข็มเจาะปลายนิ้วcapillary tubeถุงมือ สำลีแอลกอฮอล์ และดินน้ำมัน)จำนวน 1 ชุด ๆละ 1,800 บาท
    • ค่าวัสดุเป็นเงิน 500 บาท
    งบประมาณ 13,975.00 บาท
  • 4. เจาะเลือดหาสารเคมีตกค้างในเลือด ครั้งที่ 2
    รายละเอียด
    • ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่เจาะและตรวจเลือด จำนวน 2 คน ๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 40 คนๆละ 1 มื้อ ๆละ25 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
    งบประมาณ 2,200.00 บาท
  • 5. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และอดบทเรียนความสำเร็จแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ คณะทำงานและผู้เกี่ยวข้อง
    รายละเอียด

    ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 50 คน ผู้ดำเนินรายการ 1 คน คณะทำงาน 4 คน รวม 55 คน

    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 55 คน ๆละ 25 บาท เป็นเงิน 1,375 บาท
    • ค่าตอบแทนผู้ดำเนินรายการ จำนวน 3 ชม.ๆละ 500 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
    • กระดาษบรู๊ฟ จำนวน 10 แผ่น ๆละ 5 บาท เป็นเงิน 50 บาท
    • ปากกาเคมี 10 ด้าม ๆละ 15 บาท เป็นเงิน 150 บาท
    งบประมาณ 3,075.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 5 กันยายน 2566 ถึง 29 ธันวาคม 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

หมู่ที่ 1,5,6,7,8,10 ตำบลจะโหนง

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 34,885.00 บาท

หมายเหตุ : ***ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยกันได้***

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

ประชาชนบริโภคผักที่สะอาด ปลอดภัยจากสารเคมี ทำให้สุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะโหนง รหัส กปท. L5178

อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะโหนง
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะโหนง รหัส กปท. L5178

อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 34,885.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................