กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะหริ่ง รหัส กปท. L8284

อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการเฝ้าระวังและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนตำบลยามู ปี 2566
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข
กลุ่มคน
นางแวซาปีนะ มะมิง
3.
หลักการและเหตุผล

จากการสำรวจปัญหาขยะในเขตเทศบาลตำบลยะหริ่ง 198.257 ตัน/เดือน สำหรับขยะที่เกิดขึ้นในชุมชนหัวเลี้ยว ซึ่งมีจำนวนครัวเรือนทั้งหมด ๑๕๙ ครัวเรือน มีประชากร ทั้งหมด ๕๐๙ คน พบว่า ในแต่ละครัวเรือนมีปริมาณขยะเฉลี่ยประมาณ 30.04 กิโลกรัม/เดือน (โดยการประมาณ)เทศบาลตำบลยะหริ่งได้ตั้งถังจุดรับขยะ ๔ หลังคาเรือนต่อ ๑ ถัง (ถังสีน้ำเงิน) มีการจัดเก็บขยะทุกวัน เช้าเวลา ๐๗.๓๐ น. ส่วนในถนนสายหลักเพิ่มเวลาเย็น ๑9.0๐ น.โดยมีการคัดแยกขยะรีไซเคิล ขยะแห้ง ขยะเปียก บนรถขนขยะ ก่อนนำไปทิ้งที่บ่อขยะ ตำบลหนองแรต อำเภอยะหริ่ง ส่วนจุดที่รับขยะแยกตามสีถัง (สีเหลือง สีเขียว สีแดง สีน้ำเงิน) มีเพียง ๑ จุดด้วยชุมชนที่แออัดในพื่นที่ทำให้การกำจัดขยะ ไม่เพียงพอ ชุมชนเองก็ไม่มีมาตรการในการจัดการขยะด้วยตนเอง และไม่มีกฏบังคับในชุมชน ทำให้ขยะในชุมชนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกวันในครัวเรือนไม่มีการคัดแยกขยะ และไม่ได้ใช้ประโยชน์จากขยะ ซึ่งจากข้อมูลดังกล่าวมีแนวโน้มขยะจะเพิ่มมากขึ้นจากพฤติกรรมของคน และด้านอื่นๆ ทำให้เกิดปัญหาขยะในระยะยาว มีผลกระทบต่อคนในชุมชน โดยตรงทั้งในด้านสุขภาพ เพราะขยะเป็นแหล่งกำเนิดของพาหะนำโรคโดยเฉพาะยุง แมลงวัน หนู แมลงหวี่และ ทางด้านสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม
ประชาชนส่วนใหญ่ขาดจิตสำนึก ความตระหนักในการจัดการขยะประชาชนทุกกลุ่มวัยมีนิสัยทิ้งขยะไม่เป็นที่เป็นทาง เห็นแก่ความสะดวกสบายไม่รักษากฎระเบียบวินัย ไม่มีการรักษาความสะอาดร่วมกัน อีกทั้งไม่มีการกำจัดขยะบริเวณบ้านอย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง อีกทั้ง ประชาชนส่วนใหญ่และผู้ประกอบธุรกิจร้านค้าร้านอาหาร ยังขาดความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะและยังมีการทิ้งขยะแบบปนรวมกันไม่ได้คัดแยกขยะให้ถูกประเภท ขาดความตระหนักในการจัดการขยะ เกิดเป็นพฤติกรรม ความเคยชิน มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารสำเร็จรูป ที่สะดวกสบาย ซึ่งส่วนใหญ่บรรจุในซองพลาสติก กล่องโฟม แล้วทิ้งไม่เป็นที่ ทำให้มีขยะเกลื่อนในพื้นที่ ร่วมทั้งเด็กมีพฤติกรรมการลอกเลียนแบบการโยนทิ้งขยะของผู้ใหญ่ในพื้นที่ ผู้ใหญ่ไม่ได้เป็นแบบอย่างที่ดีให้กับเด็ก ไม่ได้บอก สอน แนะนำ หรือเป็นแบบอย่างให้กับเด็ก และในพื้นที่มีสภาพแวดล้อมเป็นชุมชนกึ่งเมือง มีประชากรค่อนข้างหนาแน่น การเดินทางสะดวก ประกอบกับคนในพื้นที่ประกอบอาชีพรับราชการ บริโภคอาหารสำเร็จรูปเป็นส่วนใหญ่ มีรถเร่เข้ามาขายของในพื้นที่ มีร้านขายของชำ ร้านสะดวกซื้อถุงพลาสติกใส่ของเยอะ ทำให้เพิ่มขยะในชุมชน อีกทั้งมีสุนัขจรจัดคุ้ยเขี่ยขยะจากถังขยะ คนในชุมชนอื่นมาทิ้งขยะในชุมชน และชุมชนขาดการประชาสัมพันธ์ การร่วมมือ และมาตรการ และการรณรงค์ การจัดการขยะที่ถูกต้องตามหลักวิชาการที่ทำอย่างต่อเนื่องและจริงจัง ในพื้นที่ยังพบว่ามีตลาดนัดเกือบทุกวัน ( วันจันทร์ วันพุธ และวันเสาร์) อีกทั้งเป็นทางผ่านสถานที่ท่องเที่ยว ไม่มีการจัดการขยะที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ ไม่มีข้อตกลง/ กฎ / ธรรมนูญในชุมชน ขาดมาตรการทางกฎหมาย สังคม และผู้นำชุมชน/ผู้นำในพื้นที่ ยังไม่เป็นต้นแบบในการจัดการขยะในพื้นที่ พบว่าการหาวิธีการจัดการขยะยังไม่ลงลึกเพียงพอในการแก้ไขปัญหาขยะตามสถานที่อยู่ อาศัย ขาดการกระตุ้นอย่างต่อเนื่อง ขาดการบูรณาการแผนงานร่วมกัน บ้านเรือน ตลาดสด โรงเรียน ชุมชน บางที่สามารถกำจัดขยะได้ด้วยตัวเอง บางที่ทำได้เพียงแยกขยะ
ผลกระทบของปัญหา ขยะและภาชนะเหลือใช้ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของยุง แมลงวัน แมลงหวี่ หนู เกิดพาหะของโรคต่างๆ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคอุจจาระร่วง โรคเลปโตสไปโรซีสหรือฉี่หนู โรคระบบทางเดินหายใจ รวมถึงภาวะเครียดของมลพิษทางอากาศที่ส่งกลิ่นเหม็น และก่อให้เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจ ขยะมูลฝอยปริมาณมาก ๆ ย่อมต้องสิ้นเปลืองงบประมาณในการจัดการเพื่อให้ได้ประสิทธิภาพ รวมไปถึงต้องสูญเสียค่ารักษาพยาบาลในการรักษาโรคที่เป็น สูญเสียรายได้ในยามเจ็บป่วย เกิดมลพิษทางน้ำ ทำให้ชุมชนไม่สามารถเลี้ยง ปลากะพงในกระชังได้ นอกจากนี้ผลกระทบจากขยะมูลฝอยไม่ว่าจะเป็นน้ำเสีย อากาศเสีย ดินปนเปื้อนเหล่านี้ย่อมส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศ ดังนั้นชุมชน จึงได้จัดทำโครงการการจัดการขยะในชุมชน โดยให้ประชาชนมีส่วนร่วมรับรูเข้าใจ
ร่วมมือจัดการ และ คัดแยกขยะอย่างเหมาะสมประชาชนต้องมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหาขยะมูลฝอยอย่างเป็นระบบ ลด ละ เลิก พฤติกรรมที่ก่อให้เกิดขยะในชุมชนเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดในการจัดการปัญหาขยะมูลฝอยปัญหาขยะมูลฝอย หากภาครัฐ ภาคเอกชน หรือภาคประชาชน ไม่ให้ความสนใจหรือเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวแล้วนั้น ปัญหาขยะจะทวีความรุนแรงและเพิ่มมากขึ้นตลอดไป จนไม่สามารถกำจัดได้ เป็นเกิดปัญหา “ขยะมูลฝอยในชุมชน” ขึ้น จากสาเหตุของปัญหาดังกล่าว ได้ทำการวิเคราะห์ ดังนี้ ทางพฤติกรรม - ทิ้งขยะไม่เป็นที่ - ไม่แยกขยะในครัวเรือน - ซื้ออาหารสำเร็จรูปเป็นส่วนใหญ่ - ไม่ใช้ถุงผ้า - ขาดความตระหนักในการทิ้งขยะ - ความเคยชินในการทิ้งขยะข้างทาง - ไม่ได้มีความรู้สึกว่าเป็นหน้าที่ในการจัดการขยะ - ส่งกลิ่นเหม็น -ประชาชนส่วนใหญ่ขาดจิตสำนึก ความตระหนักในการจัดการขยะประชาชนทุกกลุ่มวัยมีนิสัยทิ้งขยะไม่เป็นที่เป็นทาง เห็นแก่ความสะดวกสบายไม่รักษากฎระเบียบวินัยการรักษาความสะอาดร่วมกัน อีกทั้งไม่มีการกำจัดขยะบริเวณบ้านอย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง
- ประชาชนส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะและยังมีการทิ้งขยะแบบปนรวมกันไม่ได้คัดแยกขยะให้ถูกประเภทขาดความตระหนักในการจัดการขยะ เกิดเป็นพฤติกรรม ความเคยชิน ความสะดวกสบาย
- มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่สะดวกสบาย เน้นอาหารสำเร็จรูป ซึ่งส่วนใหญ่บรรจุในซองพลาสติก พอทิ้งไม่เป็นที่ ทำให้มีขยะเกลื่อนในพื้นที่
- เด็กมีพฤติกรรมการลอกเลียนแบบการโยนทิ้งขยะของผู้ใหญ่ในพื้นที่ ผู้ใหญ่ไม่ได้เป็นแบบอย่างที่ดีให้กับเด็ก ไม่ได้บอก สอน หรือเป็นแบบอย่างให้กับเด็ก สภาพแวดล้อมทางสังคม - แพ็คเกจบรรจุอาหารส่วนใหญ่เป็นถุงพลาสติก,โฟม,กล่องพลาสติก - ยังไม่มีกฎกติกาที่ชัดเจนในการจัดการขยะ (มาตรการดูแลชุมชน) - สุนัขจรจัดมากในชุมชน (คุ้ยขยะในถัง) - คนในชุมชนอื่นมาทิ้งขยะในชุมขน - ชุมชนแออัด - มีตลาดนัดในชุมชนเกือบทุกวัน ในพื้นที่ ไม่มีการจัดการขยะที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ และมีร้านขายของชำ ร้านสะดวกซื้อที่เพิ่มขึ้น ซึ่งยังไม่มีการจัดการขยะที่ถูกต้อง สภาพแวดล้อมเป็นชุมชนกึ่งเมือง มีประชากรค่อนข้างหนาแน่น การเดินทางสะดวก มีรถเร่เข่ามาขายของในพื้นที่ ใช้ถุงพลาสติกใส่ของเยอะ ทำให้เพิ่มขยะในชุมชน ขาดผู้ประสานงานชุมชน และผู้นำในการจัดการขยะอย่างถูกวิธี ขยะเยอะในพื้นที่บางส่วนของชุมชน สภาพแวดล้อมทางกายภาพ - มีตลาดนัดในชุมชนเกือบทุกวัน - เป็นทางผ่านแหล่งท่องเที่ยว - มีร้านสะดวกซื้อ,ร้านค้าในชุมชน กลไก/ระบบที่เกี่ยวข้อง - ให้เทศบาลจัดเก็บขยะเป็นเวลา - ให้คนในชุมชนได้รับรู้เวลาในการมาเก็บขยะ - มีการจัดประชาคม ทำความเข้าใจในการจัดการดูแลความสะอาดในฃุมฃน - ขาดข้อตกลงชุมชน ในพื้นที่ยังไม่มีการจัดการขยะที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ ไม่มีข้อตกลง/ กฎ / ธรรมนูญในชุมชน ขาดมาตรการทางกฎหมาย สังคม และผู้นำชุมชน/ผู้นำในพื้นที่ ยังไม่เป็นต้นแบบในการจัดการขยะ ผลกระทบทางสุขภาพ - เกิดโรคไข้เลือดออก - เกิดโรคอุจจาระร่วง - โรคระบบทางเดินหายใจ - โรคเครียด ทำให้เกิดแหล่งกำเนิดโรคและการแพร่ระบาดของโรค เนื่องด้วยกองขยะ และการทิ้งขยะเรี่ยราด ทำให้เป็นแหล่งที่อยู่ชองสัตว์พาหะนำโรค แมลงวัน แมลงหวี่ หนู และยุง เช่น ทำให้เกิดโรคทางระบบทางเดินหายใจ ระบบทางเดินอาหาร และโรคติดต่อ อีกทั้ง มีผลต่อการเกิดปัญหาทางด้านสุขภาพจิต เพราะกลิ่นที่ไม่พึ่งประสงค์มารบกวนวิถีชีวิตของคนที่ในพื้นที่ โรคไข้เลือดออก3 ราย (ข้อมูลจากศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลยะหริ่ง 2565) ซึ่งหากไม่จัดการการเกิดโรคมีแนวโน้มจะสูงขึ้น
ผลกระทางสังคม - เกิดการทะเลาะเบาะแว้ง - ก่อให้เกิดความรำคาญให้คนในชุมชน - ขาดความสามัคคีในชุมชน ประชาชนในพื้นที่มีพฤติกรรมที่เคยชิน ขาดความตระหนักทำให้การทิ้งขยะเป็นเรื่องปกติและเกิดความขัดแย้งระหว่างครัวเรือน เช่น การทะเลาะวิวาทในการทิ้งขยะในบริเวณพื้นที่ส่วนบุคคล มีการขัดแย้งเกี่ยวกับถังขยะที่ได้รับจากทางเทศบาลยะหริ่ง 3.4 ผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อม ก่อให้เกิดเหตุรำคาญ ส่งกลิ่นเหม็น สิ่งแวดล้อมเป็นพิษและการทำการเกษตรไม่ดีเพราะขยะทำให้ดินเป็นพิษ ผลกระทบทางเศรษฐกิจ - เพิ่มค่าใช้จ่ายในเรื่องของการรักษาพยาบาล - เพิ่มค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการขยะของเทศบาล - การประกอบอาชีพประมงรายได้ลดลง ทำให้ประชาชนเกิดโรค และต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ร่วมทั้งทางเทศบาลต้องเสีย ค่าใช้จ่ายในการกำจัดขยะ ร่วมทั้งการประกอบอาชีพทางการประมง เช่นการเลี้ยงปลากะพงในกระชัง เสียหาย ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม - เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย - ชุมชนไม่น่าอยู่ (ทัศนียภาพไม่สวยงาม) - ท่อระบายน้ำอุดตัน - การปนเปื้อนสารเคมี ก่อให้เกิดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำ ทำให้เกิดโรคในพื้นที ท่อระบายน้ำอุดตันส่งกลิ่นเหม็น สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ และน้ำท่วมขังในพื้นที่ ทำให้ทัศนียภาพไม่สวยงาม
ดังนั้นชุมชน จึงได้จัดทำโครงการการจัดการขยะในชุมชน โดยให้ประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้ เข้าใจ
ร่วมมือจัดการ และ คัดแยกขยะอย่างเหมาะสมประชาชนต้องมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหาขยะมูลฝอยอย่างเป็นระบบ ลด ละ เลิก พฤติกรรมที่ก่อให้เกิดขยะในชุมชนเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดในการจัดการปัญหาขยะมูลฝอยปัญหาขยะมูลฝอย หากภาครัฐ ภาคเอกชน หรือภาคประชาชน ไม่ให้ความสนใจหรือเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวแล้วนั้น ปัญหาขยะจะทวีความรุนแรงและเพิ่มมากขึ้นตลอดไป จนไม่สามารถกำจัดได้ เป็นเกิดปัญหา “ขยะมูลล้นชุมชน” ขึ้น ข้อมูลการจัดการขยะในครัวเรือน/ชุมชน
1.ครัวเรือนทั้งหมดในชุมชน 159 (100%) 2.ครัวเรือนที่มีการคัดแยกขยะอยู่แล้วก่อนเริ่มโครงการ 10(6.29%) 3.ครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์จากขยะ 28(17.61%) 4.ครัวเรือนที่ยังไม่คัดแยกขยะ 149(93.7%)

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้คนในชุมชนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคติดต่ออุบัติใหม่ได้
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนในชุมชนที่มีความรู้ สามารถปฏิบัติตัวในการป้องกันโรคติดต่ออุบัติใหม่ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม
    ขนาดปัญหา 60.00 เป้าหมาย 80.00
  • 2. เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีการคัดแยกขยะ
    ตัวชี้วัด : ร้อยละครัวเรือนที่มีการคัดแยกขยะ
    ขนาดปัญหา 78.80 เป้าหมาย 90.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ประชุมคณะทำงาน
    รายละเอียด

    ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 20 คนๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 30.- บาท เป็นเงิน 1,200.- บาท
    ค่าอาหารกลางวันสำหรับกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 20 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 60.- บาท เป็นเงิน 1,200.- บาท

    รวมเป็นเงิน 2,400 บาท

    งบประมาณ 2,400.00 บาท
  • 2. อบรมให้ความรู้กับ ตัวแทนประชาชนในพื้นที่
    รายละเอียด

    จัดอบรมให้ความรู้แก่ ตัวแทนประชาชนในพื้นที่
    ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 50 คนๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 30.- บาท เป็นเงิน 3,000.- บาท
    ค่าอาหารกลางวันสำหรับกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 50 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 60.- บาท เป็นเงิน 3,000.- บาท
    ค่าวิทยากรที่ให้ความรู้ จำนวน 1 คน ๆ ละ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 600.- บาท เป็นเงิน 3,600.- บาท
    รวมเป็นเงิน 9,600 บาท

    งบประมาณ 6,200.00 บาท
  • 3. การประกวดคัดเลือกบ้านต้นแบบ "บ้านน่าอยู่ ชุมชนสะอาด ปราศจากโรค"
    รายละเอียด

    คัดเลือก และยกย่องครัวเรือน / คุ้ม / โซน ตัวอย่างที่มีการคัดแยกขยะ และใช้ประโยชน์จากขยะอย่างเหมาะสม ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 15 คนๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 30.- บาท เป็นเงิน 900.- บาท
    ค่าอาหารกลางวันสำหรับกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 15 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 60.- บาท เป็นเงิน 900.- บาท

    งบประมาณ 1,800.00 บาท
  • 4. เวทีประชาคมของครัวเรือนในพื้นที่เกิดข้อตกลงชุมชนและการประชาสัมพันธ์
    รายละเอียด

    เวทีประชาคมของครัวเรือนในพื้นที่เกิดข้อตกลงชุมชนและประชาสัมพันธ์ เรือง ข้อตกลงชุมชนและการจัดการขยะในครัวเรือนทั้ง 4 ประเภท คือ 1 ขยะอินทรีย์หรือขยะเปียก 2 ขยะรีไซเคิล 3 ขยะทั่วไป 4 ขยะอันตราย
    รายละเอียดงบประมาณ
    -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 150 คนๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 30.- บาท เป็นเงิน 4,500.- บาท
    -ค่าอาหารกลางวันสำหรับกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 150 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 60.- บาท เป็นเงิน 9,000.- บาท
    -ค่าตอบแทนวิทยากรที่ให้ความรู้ จำนวน 1 คน ๆ ละ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600.- บาท เป็นเงิน 1,800.- บาท

    งบประมาณ 15,300.00 บาท
  • 5. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และถอดบทเรียนการดำเนินงาน
    รายละเอียด

    -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 50 คนๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 30.- บาท เป็นเงิน 3,000.- บาท
    -ค่าอาหารกลางวันสำหรับกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 50 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 60.- บาท เป็นเงิน 3,000.- บาท
    รวมเป็นเงิน 6,000บาท

    งบประมาณ 6,000.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 17 พ.ค. 2567 ถึง 17 พ.ค. 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

เทศบาลตำบลยะหริ่ง

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 31,700.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

ชาวบ้านในชุมชนมีความตระหนักรู้ถึงผลกระทบระยะยาวของปัญหาขยะที่มีในชุมชน ทำให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อแก้ไขปัญหาโดยเริ่มต้นการคัดแยกขยะในครัวเรือนเพื่อลดผลกระทบของขยะที่มีปริมาณมากในชุมชน เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในระดับบุคคล และมีสิ่งแวดล้อมเอื้อต่อการลดการสร้างขยะ เมื่อสิ้นสุดโครงการ ชาวบ้านและชุมชนสามารถที่จะปฏิบัติตัวเพื่อลดการสร้างขยะต่อไปได้ เกิดเป็นบ้านตัวอย่าง ชุมชนตัวอย่างเพื่อต่อยอดและขยายผลไปสู่ชุมชนอื่นๆได้อีกด้วย

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะหริ่ง รหัส กปท. L8284

อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะหริ่ง
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะหริ่ง รหัส กปท. L8284

อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 31,700.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................