กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ระแว้ง รหัส กปท. L3033

อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการขยะอินทรีย์
2.
ชื่อ
check_box
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
องค์การบริหารสาวนตำบลระแว้ง
กลุ่มคน
นายอัมมัรร์ ยีกาเดร์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ
3.
หลักการและเหตุผล

ความสำคัญในโครงการ สภานการณ์ หลักการและเหตุผล หลักการและเหตุผล ปัญหาขยะมูลฝอยถือเป็นปัญหาสำคัญซึ่งนับวันที่มีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น อับเป็นสืยเนื่องมาจากการเพิ่มขึ้นของประชากร ทั้งประชากรในพื้นที่และประชากรแฝงที่เพิ่มขึ้นพร้องกับความเจริญเติบโตของตำบลตลอดจนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการอุปโภคบริโภคของประชาชน จากสถานการณ์ของขยะมูลฝอยทำให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับขยะที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของชุมชนทั้งทางตรงและทางอ้อม จนส่งผลกระทบต่อสุขภาพของคนในชุมชน การทำลายทัศนียภาพ ความสวงามของตำบล อีกทั้งยังเป็นแหล่งเพาะพันธ์สัตว์และพาหนะนำโรคต่างๆ เช่น หนู ยุง แมลงวัน ฯลฯ ก่อให้เกิดกลิ่นเหม็นรบกวนสุขภาพของคนในชุมชนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ แม้ว่จะมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดการปัญหาขยะมูลฝอยดังกล่าวรวมถึงมีการกำหนดรูปแบบหรือวิธีการจัดการไว้แล้ว แต่ยังคงไม่เพียงพอหรือไม่สามารถตอบสนองต่อปริมาณขยะมูลฝอยที่เพิ่มมากขึ้นและยังคงก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ อาทิ เช่น ปัญหาขยะตกค้าง ก่อให้เกิดความสกปรกในพื้นที่ ปัญหาด้านกระบวนการกำจัดขยะหรือปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ประกอบกับประชาชนส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ความเข้าใจในการบริหารจัดการขยะที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ หรือสร้างมูลค่าหรือสร้างรายได้ ซึ้งจะเป็นผลให้ความสามรถลดปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นได้ จังหวัดตรังได้ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน "จังหวัดสะอาด" ประจำปี พ.ศ. 2565 ภายใต้ แผนปฏิบัติการการจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ (พ.ศ.2565-2570) โดยดำเนินการตั้งแต่จังหวัด อำเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หมู่บ้านและุมชน โดยใช้หลักการ 3 ช. : ใช้น้อย ใช้ซ้ำ และนำกลับมาใช้ใหม่ ภายใต้กรอบการดำเนินงาน 3 ระยะ ตั้งแต่ ต้นทาง กลางทางและปลายทาง เพื่อลดปรอมาณขยะและส่งการคัดแยกขยะที่ต้นทาง การจัดทำระบบเก็บขนอย่างมีประสิทธิภาพและขยะมูลฝอยได้รับการกำจัดอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ ประกอบกับกระทรวงมหาดไทยกำหนดนโยบายการดำเนินงานด้าน การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเพื่อบรรลุเป้าหมายการลดก๊าสเรือนกระจกและการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศตามนโยบายของรัฐบาล โดยขึ้นทะเบียนของโครงการถังขยะเปียก ลดโลกร้อนขององค์กรปกครองส่วนททท้องถิ่นประเทศไทย ตามโครงการลดก็าสเรือนกระจกภาคสมัครใจตามมาตฐานของประเทศไทย (T-VER) ของกรมส่งเสริมปกครองส่วนท้องถิ่น ตั้งแต่ระดับครัวเรือน โรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการคัดแยกขยะเปียกหรือขยะที่มาจากเศษอาหารออกจากถังขยะทั่วไป เพื่อเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมและแก้ปัญหาขยะที่เกิดจากต้นทางได้อย่างมีประสิทธิภาพและเพื่อขับเลื่อนนโยบายการลดปริมาณและคัดแยกขยะเปียกของครัวเรือนในระดับท้องถิ่นและเป็นแหล่งเรียนรู้การจัดการ "ขยะเปียกลดโลกร้อน" สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลระแว้งจึงได้ทำโครงการอบรมให้ความรู้การจัดทำคัดแยกขยะอินทรีย์หรือขยะเปียกในครัวเรือน แก่ ผู้นำหมู่บ้าน ประจำปีงบประมาณ 2566 ขึ้น

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ ทุกครัวเรือนมีการจัดการขยะอินทรีย์ที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ
    ขนาดปัญหา 0.38 เป้าหมาย 100.00
  • 2. เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการในการจัดการขยะ
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการด้านการจัดการขยะ ทุกครัวเรือน
    ขนาดปัญหา 50.00 เป้าหมาย 100.00
  • 3. เพื่อลดปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดต่อวัน
    ตัวชี้วัด : ปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดต่อวัน ลดลงครึ่งหนึ่่งของแต่ละครัวเรือน
    ขนาดปัญหา 2.40 เป้าหมาย 1.20
  • 4. เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน
    ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน ทุกหมู่บ้านมีกลุ่มในการจัดการขยะอินทรีย์
    ขนาดปัญหา 3.00 เป้าหมาย 3.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. อบรมให้ความรู้ (29 ส.ค. 2566 - 30 ส.ค. 2566)
    รายละเอียด

    กิจจกรรมอบรม บรรยายให้ความรู้ ความเข้าใจ เรื่อง วิธีการ คัดแยกขยะอินทรีย์หรือขยะเปียกในครัวเรือน แก่ ครัวเรือนเป้าหมาย

    -ค่าสมนาคุณวิทยากร 6 ช.ม x 600 บาท จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 7,200.-บาท -ค่าอาหารกลางวัน 500 คน x 80 บาท เป็นเงิน 40,000.-บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อ x 500 คน x 35 บาท เป็นเงิน 35,000.-บาท -ค่าวัสดุฝึกอบรม จำนวน 500 x 50 บาท เป็นเงิน 25,000.-บาท -ค่าป้ายโครงการจำนวน๑ ป้ายขนาด 1 x 3 ม.เป็นเงิน750.- บาท

    งบประมาณ 107,950.00 บาท
  • 2. รณรงค์ ประชาสัมพันธ์
    รายละเอียด

    รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ความเข้าใจ เรื่อง วิธีการคัดแยกขยะอินทรีย์ หรือขยะเปียกใน ครัวเรือน แก่ประชาชน ครัวเรือนกลุ่มเป้าหมายในการจัดทำขยะอินทรีย์หรือขยะเปียก ผ่านบอร์ดประชาสัมพันธ์หมู่บ้าน และเสียงตามสายหมู่บ้าน -ค่าป้ายรณรงค์จำนวน 1 ป้ายๆละ 750 บาท ขนาด 1 x 3 ม.เป็นเงิน 750.- บาท

    งบประมาณ 750.00 บาท
  • 3. จัดทำและสาธิตการจัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อน
    รายละเอียด

    จัดทำและสาธิตการจัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อน ค่าถังขยะเปียก 500 x 180 = 90,000 บาท

    งบประมาณ 90,000.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 29 สิงหาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

ตำบลระแว้ง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 198,700.00 บาท

หมายเหตุ : วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด) 1. จัดทำโครงการอบรมให้ความรู้การจัดถังขยะอินทรีย์หรือขยะเปียกในครัวเรือน ประจำปีงบประมาณ 2566 เพื่อเสนอขอพิจารณาอนุมัติจากผู้บริหารท้องถิ่น เสนอของงบประมาณสนับสนุนในการจัดทำโครงการฯ จากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลระแว้ง 3. ประชุมหารือผู้ผู้เกี่ยวข้องเพื่อกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการจัดทำถังขยะขยะอินทรีย์หรือขยะเปียก 4. อบรม บรรยายให้ความรู้ความเข้าใจ เรื่อง การคัดแยกขยะอินทรีย์หรือขยะเปียกในครัวเรือน แก่ประชาชน ครัวเรือนกลุ่มเป้าหมายในการจัดทำถังขยะอินทรีย์หรือขยะเปียก 5. รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ความเข้าใจ เรื่อง วิธีการคัดแยกขยะอินทรีย์หรือขยะเปียกในครัวเรือน แก่ประชาชน ครัวเรือนกลุ่มเป้าหมายในการจัดทำถังขยะอินทรีย์หรือขยะเปียก ผ่านบอร์ดประชาสัมพันธ์หมู๋บ้าน และเสียงตามสายหมู่บ้าน 6. เตรียมความพร้อมให้โรงเรียนในพื้นที่ตำบลระแว้งและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลระแว้ง แหล่งเรียนรู้ "การจัดทำถังขยะอินทรีย์หรือขยะเปียกได้ 7. ประสานสถานประกอบการในตำบลให้ดำเนินการจัดการขยะอินทรีย์ตามแนวทางที่ตำบลระแว้ง กำหนดดำเนินการจัดทำถังขยะอินทรีย์หรือถังขยะเปียกของกลุ่มเป้าหมายครบทุกหลังคาเรือน 9. ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของโครงการและรายงานสรุปผลการดำเนินงานเสนอผู้บริหารท้องถิ่น และกองทุนหลักประกันตำบลระแว้ง

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. สามารถจัดการขยะอินทรีย์และลดปริมาณขยะอินทรีย์หรือขยะเปียกในครัวเรือนก่อนนำเข้าสู่กระบวนการกำจัดอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ 2.กลุ่มแกนนำชุมชน อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล) ผู้นำท้องที่ ประชาชน มีจิตสำนึกในการคัดแยกขยะครัวเรือนตั้งแต่ต้นต้นทาง 3.เป็นแหล่งเรียนรู้การจัดการ "ขยะเปียกลกโลกร้อน" และการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชนในพื้นที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น 4.ครัวเรือนและชุมชนมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพ 5.ลดปริมาณขยะมูลฝอยในครัวเรือน ชุมชน ที่ก่อให้เกิดแหล่งเพาะพันธ์ุเชื้อโรค
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ระแว้ง รหัส กปท. L3033

อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ระแว้ง
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ระแว้ง รหัส กปท. L3033

อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 198,700.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................