กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงสงสัยป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าบอน

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าบอน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสงสัยป่วยต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้ด้านสุขภาพ มีทัศคติ และมีพฤติกรรมที่ถูกต้อง

 

50.00
2 เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ จากกลุ่มเสี่ยงสงสัยโรคเบาหวานและกลุ่มเสี่ยงสงสัยโรคความดันโลหิตสูง

 

50.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสงสัยป่วยต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้ด้านสุขภาพ มีทัศคติ และมีพฤติกรรมที่ถูกต้อง

1.  กลุ่มเสี่ยงสงสัยป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

50.00 50.00
2 2. เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ จากกลุ่มเสี่ยงสงสัยโรคเบาหวานและกลุ่มเสี่ยงสงสัยโรคความดันโลหิตสูง
  1. กลุ่มเสี่ยงสงสัยป่วยโรคเบาหวาน สามารถควบคุมระดับน้ำตาลโดยวิธีเจาะปลายนิ้ว (FCBG) < 126 mg/dl ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๕
  2. กลุ่มเสี่ยงสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง ควบคุมค่าระดับความดันโลหิตตัวบนเฉลี่ย (SBP) ระหว่าง <140mmHg และ/หรือ ค่าความดันโลหิตตัวล่างเฉลี่ย (DBP) ระหว่าง < 90 mmHg ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๕
50.00 50.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/08/2023

กำหนดเสร็จ 31/08/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงสงสัยป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ตามหลัก 3อ2ส และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับบุคคลตัวอย่างที่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้อยู่ในกลุ่มปกติ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงสงสัยป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ตามหลัก 3อ2ส และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับบุคคลตัวอย่างที่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้อยู่ในกลุ่มปกติ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าไวนิลโครงการ ขนาด 1.2 x 2.4 เมตร 500 บาท 1 ป้าย                 เป็นเงิน 500 บาท
  2. ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าอบรม จำนวน 50 คน คนละ 1 มื้อ
    มื้อละ 60  บาท    เป็นเงิน 3,000 บาท
  3. ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำวนวน 50 คน คนละ 2 มื้อ
    มื้อละ 30 บาท     เป็นเงิน 3,000 บาท
  4. ค่าสมนาคุณวิทยากรจำนวน 2 คน คนละ 4 ชั่วโมง
    ชั่วโมงละ 600 บาท       เป็นเงิน 4,800 บาท
  5. ค่าแผ่นพับปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแบบสี จำนวน 50 แผ่น
    แผ่นละ 5 บาท       เป็นเงิน 250 บาท
  6. ค่าแบบทดสอบความรู้ก่อนและหลังเข้าโครงการ
        - แบบทดสอบความรู้ก่อนเข้าโครงการ 1 แผ่น แผ่นละ 1 บาท 50 แผ่น          - แบบทดสอบความรู้หลังเข้าโครงการ 2 แผ่น แผ่นละ 1 บาท 100 แผ่น  เป็นเงิน 150 บาท
  7. ค่าเข็มเจาะน้ำตาล (200 ชิ้น / กล่อง )
    ใช้เจาะก่อนและหลังเข้าโครงการ  1 กล่อง                                         เป็นเงิน 891 บาท
  8. แถบตรวจน้ำตาล (50 ชิ้น/กล่อง)
    ใช้ตรวจก่อนและหลังเข้าโครงการ จำนวน 3 กล่อง
    กล่องละ 830 บาท   เป็นเงิน 2,490 บาท
  9. ถุงมือยางแบบมีแป้ง (100ชิ้น)
    ใช้ขณะเจาะเลือดปลายนิ้วก่อนและหลังเข้าโครงการ  1 กล่อง                 เป็นเงิน 280 บาท
  10. สำลีก้อนชุบแอลกอฮอล์ (24 แผง/กล่อง) 1 กล่อง                               เป็นเงิน 160 บาท
  11. ค่าอุปกรณ์

- ยางยืดออกกำลังกาย  จำนวน 50 ชุด ชุดละ 50 บาท
- ชุดสื่อการสอนวงล้ออาหาร วงล้อพลังงาน และ BMI                         
เป็นเงิน 2,500 บาท เป็นเงิน 300 บาท
12. เกียรติบัตรพร้อมกรอบสำหรับบุคคลที่สามารถควบคุมค่าน้ำตาลในเลือด หลังจัดการอบรมและกลับไปปฏิบัติตัวเป็นเวลา  3  เดือน จำนวน 10
-  เกียรติบัตรแบบสี จำนวน 10 ฉบับ ฉบับละ 25 บาท                           และควบคุมความดันได้ดี รางวัล เป็นเงิน  250 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.  กลุ่มเสี่ยงสงสัยป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. กลุ่มเสี่ยงสงสัยป่วยโรคเบาหวาน สามารถควบคุมระดับน้ำตาลโดยวิธีเจาะปลายนิ้ว (FCBG) < 126 mg/dl ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๕ 3. กลุ่มเสี่ยงสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง ควบคุมค่าระดับความดันโลหิตตัวบนเฉลี่ย (SBP) ระหว่าง <140mmHg และ/หรือ ค่าความดันโลหิตตัวล่างเฉลี่ย (DBP) ระหว่าง < 90 mmHg ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๕

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
18571.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 18,571.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนในตำบลท่าบอนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงสงสัยป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้
2. ประชาชนในตำบลท่าบอนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงสงสัยป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เป็นต้นแบบด้านพฤติกรรมสุขภาพ
3. ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง
4. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสงสัยป่วยต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้และเผยแพร่ในครอบครัว


>