กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประจัน รหัส กปท. L3029

อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคด้วย 3อ 2ส ปี 2566
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบือแนปีแน (อสม ม.7)
กลุ่มคน
1ปาตีเมา อาเยาะแซ
2นางสาวแวซำซียะ ปารามัล
3นางแวนูรีตาบูงอ
4นายมะรูดิงยาโงะ
5นางสาวอามีซะห์มะแอ
3.
หลักการและเหตุผล

1.หลักการเหตุผล ปัญหาสุขภาพช่องปากเป็นปัญหาที่สำคัญในทุกกลุ่มวัย ตั้งแต่กลุ่มหญิงตั้งครรภ์จนถึงผู้สูงอายุโดยเฉพาะในกลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน โรคฟันผุในเด็กสามารถพบได้ตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้นในช่วงขวบปีแรก และอัตราการผุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ในช่วงอายุ 1-3 ปีในขณะเดียวกันการมีภาวะสุขภาพช่องปากที่ดีย่อมส่งผลโดยตรงต่อสุขภาพองค์รวมด้านอื่นๆอีกด้วย
สาเหตุหลักที่ทำให้เด็กมีฟันผุ มาจากพฤติกรรมของผู้ปกครองในการเลี้ยงดูบุตรที่ไม่ถูกต้อง การดูแลทำความสะอาดช่องปากไม่ถูกวิธี และมีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสม ก่อให้เกิดโรคฟันผุในฟันน้ำนมอย่างรุนแรง ทำให้เด็กมีความเจ็บปวด เคี้ยวอาหารไม่ได้ตามปกติ ได้รับสารอาหารที่จำเป็นไม่เพียงพอ จึงส่งผลต่อภาวะโภชนาการและพัฒนาการและการเจริญเติบโตของเด็กในที่สุด ปัจจุบันการดำเนินงานด้านการส่งเสริมทันตสุขภาพในประชาชนบ้านบือแนปีแน ตำบลประจันยังไม่ครอบคลุมทุกกลุ่มวัย ด้วยข้อจำกัดด้านทันตบุคลากร ทำให้ไม่สามารถติดตามดูแลสุขภาพช่องปากได้อย่างทั่วถึง และยังขาดความพร้อมของเครื่องมืออุปกรณ์ในการให้บริการทันตกรรมทำให้ประชาชนไม่ได้เข้าถึงการรับบริการ ทันตกรรมตามความจำเป็น ทั้งนี้จากปัญหาดังกล่าวจึงจำเป็นต้องอาศัยผู้นำสุขภาพในหมู่บ้าน นั่นคืออาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ซึ่งเป็นบุคคลที่อยู่ใกล้ชิดประชาชนและทำหน้าที่เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพของประชาชนในชุมชนตลอดมา การดำเนินงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ที่ผ่านมานั้นไม่มีรูปแบบการดำเนินงานในการเป็นผู้นำด้านทันตสุขภาพที่ชัดเจน ทำให้ไม่สามารถขยายการดำเนินงานทันตสุขภาพสู่ระดับหมู่บ้านและระดับครัวเรือนได้ และจาการสำรวจผลการตอบแบบสอบถามด้านความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรม ในกลุ่มอสม.พบว่า อสม.มีความรู้และทักษะในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากที่ไม่ถูกต้อง อาจส่งผลกระทบต่อการนำความรู้ไปเผยแพร่ในชุมชนต่อไป ในการนี้เพื่อเป็นการพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กก่อนวัยเรียนทำได้ โดยการเน้นรูปแบบการส่งเสริม ป้องกันให้กับผู้ปกครอง เพื่อให้ผู้ปกครองสามารถดูแลทำความสะอาดช่องปากเด็กได้อย่างถูกวิธี ต่อเนื่องและสม่ำเสมอ รวมทั้งมีการติดตาม ประเมินผลจากทันตบุคลากรร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมา โดยอาศัยการมีส่วนร่วมของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เป็นแกนนำในการส่งเสริมทันตสุขภาพในชุมชน โดยต้องเริ่มต้นจากการพัฒนาศักยภาพด้านองค์ความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากเพื่อให้สามารถเฝ้าระวังปัญหาและเผยแพร่ความรู้ด้านทันตสุขภาพ ในชุมชนได้ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบือแนปีแน ได้ตระหนักและเล็งเห็นถึงปัญหาดงกล่าว จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำอสม.ด้านทันตสุขภาพปี 2566 ขึ้น

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กบือแนปีแนฟันดี ประจำปี 2566
    รายละเอียด

    จากงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลประจันจำนวน ๒4,600 บาท          (เงินสองหมื่นสี่พันหกร้อยบาทถ้วน) รายละเอียด ดังนี้ กิจกรรมที่ ๑ กิจกรรมพัฒนาองค์ความรู้และฝึกทักษะการแปรงฟันแก่อสม.   - ค่าอาหารกลางวันสำหรับกลุ่มเป้าหมายและผู้ดำเนินงาน จำนวน 38 คน ๆ ละ 50บาท/มื้อ จำนวน 1มื้อ เป็นเงิน 1,900บาท   - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับกลุ่มเป้าหมายและผู้ดำเนินงาน จำนวน 38 คน ๆ ละ 25บาท/มื้อ จำนวน 2มื้อ เป็นเงิน 1,900บาท
      - ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมงๆละ 300บาท เป็นเงิน 1,800บาท
      - ค่าป้ายโครงการฯ ขนาด 1.2 x 2.5 เมตร ในราคาตารางเมตรละ 300บาท เป็นเงิน 900บาท
      - โมเดลฟันแสดงการเกิดโรคฟันผุจำนวน 1 ชุด เป็นเงิน 2,000 บาท   - โมเดลการเกิดโรคปริทันต์ จำนวน 1 ชุด เป็นเงิน 1,500 บาท   - ค่าชุดอุปกรณ์สำหรับทำความสะอาดช่องปาก  จำนวน 38 ชุด ๆ ละ 50บาท  เป็นเงิน 1,900บาท
      - ค่าวัสดุสำนักงาน กระเป๋าใส่เอกสาร จำนวน 45ใบ ๆละ 50 บาท เป็นเงิน 1,900บาท

    กิจกรรมที่ ๒ กิจกรรมฝึกทักษะการแปรงฟันแห้งแก่ผู้ปกครองแบบลงมือปฏิบัติจริงโดยใช้โมเดลตุ๊กตา   - ค่าอาหารกลางวันสำหรับกลุ่มเป้าหมายและผู้ดำเนินงาน    จำนวน 35 คน ๆ ละ 50 บาท/มื้อ จำนวน 1 มื้อ            เป็นเงิน ๑,750 บาท
      - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับกลุ่มเป้าหมายและผู้ดำเนินงาน จำนวน 35 คน ๆ ละ 25 บาท/มื้อ จำนวน 2 มื้อ                                                                                เป็นเงิน ๑,750บาท

      - ค่าชุดอุปกรณ์สาธิตทำความสะอาดช่องปากเด็กจำนวน 100 ชุด ๆละ 40 บาท
    เป็นเงิน 4,000 บาท   - ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท  เป็นเงิน 1,800 บาท
      - ค่าวัสดุสำนักงาน กระเป๋าใส่เอกสาร จำนวน ๓0 ใบ ๆละ 50 บาท          เป็นเงิน ๑,๕00 บาท

            รวมเป็นเงิน ๒4,600 บาท (เงินสองหมื่นสี่พันหกร้อยบาทถ้วน)
    
    งบประมาณ 12,700.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 มิถุนายน 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

เขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบือแนปีแน (อสม ม.7) รับผิดชอบ

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 12,700.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. อสม.มีความรู้และทักษะด้านการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้องจนสามารถนำความรู้ไปเผยแพร่แก่ชุมชนได้
  2. อสม.มีส่วนร่วมในการดำเนินงานส่งเสริมทันตสุขภาพในชุมชน 3.ผู้ปกครองเด็กได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟันในเด็กและสามารถดูแลสุขภาพช่องปากให้กับบุตรได้อย่างต่อเนื่อง
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประจัน รหัส กปท. L3029

อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประจัน
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประจัน รหัส กปท. L3029

อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 12,700.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................