กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คู

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเด็กดี ครั้งที่ 15

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คู

กองการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

-

โรงเรียนจะนะชนูปถัมภ์ หมู่ที่ 3 ตำบลคู อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานสิ่งเสพติด , แผนงานความปลอดภัยทางถนน

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละผู้ขับขี่รถที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

 

80.00
2 ร้อยละเด็กและเยาวชน อายุ 15 - 25 ปี ในชุมชนที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด

 

75.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดผู้ขับขี่รถที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ร้อยละผู้ขับขี่รถที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

80.00 70.00
2 เพื่อลดเด็กและเยาวชน อายุ 15 -25 ปี ในชุมชน ที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด

 

75.00 65.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 308
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 30/08/2023

กำหนดเสร็จ 30/08/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการเด็กดี ครั้งที่ 15

ชื่อกิจกรรม
โครงการเด็กดี ครั้งที่ 15
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับประธานในพิธี แขกผู้มีเกียรติ วิทยากร ครูผู้ควบคุมเด็ก และเจ้าหน้าที่โครงการ ในพิธีเปิด จำนวน 49 คน คนละ 35 บาท เป็นเงิน 1,715 บาท
  2. ค่าอาหารมื้อกลางวันสำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม 308 คนสำหรับผู้บริหาร ทีมวิทยากร ครูผู้ควบคุมเด็ก และเจ้าหน้าที่โครงการ 41 คน รวมทั้งสิ้น 349 คน คนละ 70 บาท เป็นเงิน 24,430 บาท
  3. ค่าอาหารว่างเบรคเช้า และ เบรคบ่าย สำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม ทีมวิทยากร ครูผู้ควบคุมเด็ก และเจ้าหน้าที่โครงการ มื้อละ 35บาทต่อคน จำนวน 2 มื้อ จำนวน 337 คน เป็นเงิน 23,590 บาท
  4. ค่าจัดซื้อกระเป๋าพร้อมสกรีน สำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม จำนวน 308 ใบ ใบละ 160 บาท เป็นเงิน 49,280 บาท
  5. ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 10 คน อัตราค่าตอบแทน 600 บาทต่อชั่วโมง คนละ 3 ชั่วโมงต่อวัน เป็นเงิน 18,000 บาท
  6. ค่าวัสดุ อุปกรณ์ที่จำเป็นในการฝึกอบรม ได้แก่ สมุด ปากกา กระดาษ A4 กระดาษปรู๊ฟ ปากกาเคมีสองหัว กระดาษเกียรติบัตร ริบบิ้น กระดานเขียนชื่อ ฯลฯ เป็นเงิน 7,630 บาท
  7. ค่าจ้างออกแบบและพิมพ์ป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ ขนาดกว้าง 1.20 เมตร ยาว 3.0 เมตร ตารางเมตรละ 150 บาท เป็นเงิน 540 บาท
  8. ค่าจ้างจัดทำเอกสารประกอบการฝึกอบรม จำนวน 308 เล่ม เล่มละ 50 บาท เป็นเงิน 15,400 บาท
  9. ค่าบำรุงสถานที่พร้อมวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นในการฝึกอบรม เป็นเงิน 6,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
30 สิงหาคม 2566 ถึง 30 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. เด็กรู้ถึงภัยยาเสพติด รู้จักป้องกันตนเองจากยาเสพติด สาเหตุการติดยาเสพติด และกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติด
  2. เด็กมีความรู้เรื่องความปลอดภัยและอุบัติเหตุบนท้องถนน มีความรู้เรื่องวินัยจราจรและกฎหมายจราจรในชีวิตประจำวัน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
146585.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 146,585.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ร้อยละผู้ขับขี่รถที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นลดลง
2. ร้อยละเด็กและเยาวชนในชุมชนที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติดลดลง


>