กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา รหัส กปท. L7452

อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการปฐมพยาบาลเบื้องต้น ( FIRST AID) รู้ไว้สักนิด ช่วยชีวิตให้ปลอดภัย สำหรับแกนนำสุขภาพเทศบาลนครยะลา
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
สำนักสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
3.
หลักการและเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) สาเหตุการเสียชีวิตของประชากรในประเทศไทยส่วนใหญ่เกิดจากโรคที่เกี่ยวกับทางเดินหายใจ โรคหัวใจและหลอดเลือด อุบัติเหตุ หรือเกิดจากภาวะฉุกเฉินแบบปัจจุบันทันด่วน เช่น ฮีทสโตรก (Heat stroke) หรือ โรคลมร้อน ข้อมูลจากการเฝ้าระวังการเสียชีวิตจากภาวะอากาศร้อน กองระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค ระหว่างเดือน มีนาคม-พฤษภาคม ระหว่างปี พ.ศ. 2558-2564 มีรายงานผู้เสียชีวิตจากภาวะอากาศร้อน จำนวน ทั้งสิ้น 234 ราย สาเหตุ มาจากการอยู่ในสภาพอากาศที่ร้อนจัดเป็นเวลานาน จนกระทั่งร่างกายปรับสภาพไม่ทัน ซึ่งจะส่งผลให้มีอาการอ่อนเพลีย คลื่นไส้อาเจียน ไม่มีเหงื่อออก ตัวร้อนจัด ปวดศีรษะ ชีพจรเต้นเร็ว ความดันโลหิตลดลงและอาจเสียชีวิตได้ในทันที จากรายงานสถานการณ์ผู้ป่วยเบาหวานจังหวัดยะลา มีแนวโน้มป่วยเป็นโรคเบาหวานเพิ่มขึ้นทุกปี ปี 2565 พบผู้ป่วยรายใหม่ 1,704 ราย จากผู้ป่วยทั้งหมด 20,865 ราย เสียชีวิต 638 ราย (3.06 %) อัตราป่วยด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือดจากประชากร 143,037 ราย ป่วย 677 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.47 จำนวนผู้ป่วยตายโรคหัวใจและหลอดเลือด 135 ราย คิดเป็นร้อย 19.94 (สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา, 2565) ในเขตเทศบาลนครยะลาพบอัตราป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ จำนวน 790.85 ต่อประชากรหนึ่งแสนคน คิดเป็นจำนวน 470 ราย พบอัตราป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ จำนวน 398.79 ต่อประชากรหนึ่งแสนคน คิดเป็นจำนวน 237 รายคิด พบอัตราป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดรายใหม่ จำนวน 80.08 ต่อประชากรหนึ่งแสนคน คิดเป็นจำนวน 1,516 ราย (ข้อมูลศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองธนวิถี – เวชกรรม โรงพยาบาลยะลา,2566) ส่วนสาเหตุอื่นๆที่สามารถพบได้แก่ การแพ้ยา การแพ้พิษแมลงกัดต่อย ถูกไฟฟ้าดูด สำลักควันไฟ หรือจมน้ำ ผู้ป่วยหรือผู้ที่ได้รับบาดเจ็บเหล่านี้อาจมีอาการที่ผิดปกติเกิดขึ้นกับร่างกาย หรือบางรายอาจมีภาวการณ์หยุดหายใจกะทันหัน หัวใจหยุดเต้นกะทันหัน ถ้าปล่อยไว้นานเกิน 4 นาที แม้จะช่วยให้ฟื้นคืนชีพกลับมาได้ ก็จะเกิดสภาวะการตายของสมองอย่างถาวรที่เกิดจากการที่สมองขาดเลือดไปเลี้ยง และโดยส่วนใหญ่จะพบสภาวการณ์ต่างๆ เหล่านี้ในภาวะฉุกเฉิน ซึ่งหมายถึง การได้รับบาดเจ็บ หรือการเจ็บป่วยแบบกะทันหันที่เป็นอันตรายต่อชีวิตหรือการทำงานของอวัยวะสำคัญ ทั้งนี้การได้รับการช่วยเหลือเมื่อเกิดเหตุวิกฤติ หรือเจ็บป่วยฉุกเฉินอย่างถูกต้องและรวดเร็วนั้นย่อมทำให้โอกาสรอดชีวิตสูงขึ้น ดังนั้นการมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการช่วยเหลือชีวิตหรือการปฐมพยาบาลเบื้องต้น จึงเป็นบทบาทสำคัญในการช่วยป้องกันและลดความรุนแรงของเหตุฉุกเฉินที่เกิดขึ้น ทั้งยังช่วยป้องกันการเสียชีวิตได้
การปฏิบัติการเพื่อช่วยชีวิตที่กระทำอย่างทันทีและถูกต้อง จะช่วยให้สมองไม่ขาดเลือดและสามารถกลับมาฟื้นเป็นปกติได้ เนื่องจากอุบัติการณ์เหล่านี้ มักเกิดนอกโรงพยาบาล เช่น ที่บ้าน หรือที่ทำงาน โดยการช่วยชีวิตอย่างทันท่วงทีนั้น จะต้องเป็นการให้การช่วยเหลือจากญาติมิตร คนใกล้ชิด ผู้ร่วมงาน ประชาชนทั่วไปที่อยู่ในสถานการณ์ รวมถึงแกนนำสุขภาพ ซึ่งบุคคลเหล่านี้จึงจำเป็นที่จะต้องสามารถทำการการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและปฏิบัติการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้ป่วยหรือผู้ที่ได้รับบาดเจ็บพ้นจากความพิการหรืออันตรายแก่ชีวิตก่อนนำส่งโรงพยาบาล การปฐมพยาบาลและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานจึงเป็นสิ่งสำคัญ และสามารถช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้องต้นได้ โดยใช้อุปกรณ์ต่างๆ เท่าที่มีอยู่ หรือจัดหาได้ในที่เกิดเหตุการณ์ ทั้งนี้การได้รับการช่วยเหลือเบื้องต้นอย่างทันท่วงทีและถูกต้อง และมีการส่งต่อผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บต่อไปยังสถานพยาบาลอย่างเหมาะสม รวดเร็ว และถูกวิธี จะทำให้ผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บมีโอกาสรอดชีวิตและกลับคืนมาใช้ชีวิตเป็นปกติได้ โดยเริ่มตั้งแต่การตรวจร่างกายเพื่อค้นหาการบาดเจ็บต่างๆ ที่จะเป็นอันตรายแก่ชีวิต และให้การช่วยเหลือที่เป็นลำดับตั้งแต่ขั้นรุนแรงที่สุดเป็นต้นไป ได้แก่ การกระตุ้นหัวใจและการผายปอด การห้ามเลือด การปฐมพยาบาลบาดแผลทุกชนิด การปฐมพยาบาลผู้ป่วยช็อกจากสาเหตุต่างๆ การปฐมพยาบาลผู้ป่วยได้รับสารพิษจากสัตว์หรือแมลงกระดูกหัก ตลอดจนการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปส่งโรงพยาบาล
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลนครยะลา ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าวในข้างต้น จึงได้จัดการฝึกอบรมหลักสูตร “การปฐมพยาบาลเบื้องต้น” ให้แก่แกนนำสุขภาพเทศบาลนครยะลา ซึ่งเป็นผู้ดูแลสุขภาพของประชาชนในเบื้องต้น และยังเป็นกำลังสำคัญในการดำเนินงานด้านสุขภาพในพื้นที่รับผิดชอบ เพื่อช่วยเหลือผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ หรือเจ็บป่วยให้พ้นจากอันตรายก่อนนำส่งโรงพยาบาล

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะในเรื่องปฐมพยาบาลเบื้องต้นในภาวะฉุกเฉินและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
    ตัวชี้วัด : 1. ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นในภาวะฉุกเฉินได้อย่างถูกต้อง อย่างน้อย ร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. 2. เพื่อให้ผู้ที่เข้ารับการอบรมสามารถช่วยเหลือผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ หรือเจ็บป่วยให้พ้นจากอันตรายได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพก่อนนำส่งโรงพยาบาล
    ตัวชี้วัด : 2. ผู้เข้ารับการอบรมผ่านทักษะการฝึกภาคปฏิบัติการ ปฐมพยาบาลเบื้องต้นในภาวะฉุกเฉินได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการการปฐมพยาบาลเบื้องต้นในภาวะฉุกเฉิน
    รายละเอียด

     

    งบประมาณ 29,290.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 25 สิงหาคม 2566 ถึง 25 สิงหาคม 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

เทศบาลนครยละา

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 29,290.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นในภาวะฉุกเฉินสามารถช่วยเหลือตนเองและบุคคลใกล้ตัวได้อย่างปลอดภัยก่อนถึงโรงพยาบาล เพื่อเป็นการลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตและลดค่าใช้จ่ายทางด้านค่ารักษาพยาบาลในกรณีฉุกเฉินต่างๆ
  2. ผู้เข้าอบรมสามารถให้คำแนะนำหรือสามารถถ่ายทอดความรู้ใหม่ๆที่ได้รับแก่ผู้อื่นได้อย่างถูกต้อง
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา รหัส กปท. L7452

อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา รหัส กปท. L7452

อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 29,290.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................