กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะหา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการให้ความรู้เรื่องโรคเอดส์เชิงปฏิบัติการ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะหา

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

1.นายกฤตภาส ปฐมนุพงษ์
2.นางมาซือน๊ะดอเลาะฮีแต

ห้องประชุมโรงเรียนบ้านยะหา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

อาศัยอำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติมาตรา 50 (4) ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย เทศบาลตำบลมีหน้าที่ป้องกันและระงับโรคติดต่อประเทศไทย ได้รับผลกระทบจากการติดเชื้อเอชไอวีโดยเริ่มจากผู้ติดยาเสพติดที่ใช้เข็มฉีดยาร่วมกันตามด้วยหญิงบริการจนเข้าสู่ระบบครอบครัว การติดเชื้อเอชไอวีมุ่งไปที่หญิง-ชายวัยเจริญพันธุ์และเด็กจากการที่มีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีในเด็กจากแม่สู่ลูกรายแรกจึงเริ่มขึ้นในปี พ.ศ.2531
เมื่อประเมินช่องว่างของการดำเนินงานการให้บริการช่วยเหลือเด็กดังกล่าวพบว่า มีส่วนขาดในหลายๆ ด้าน เช่น ด้านสาธารณสุขพบว่าการติดตามเด็กที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อเอชไอวีเพื่อรับการดูแลรักษาที่เหมาะสมยังไม่ครอบคลุมยังขาดการช่วยเหลือด้านจิตใจ อารมณ์ และสังคม เพื่อเติมเต็มให้การดูแลรักษาทางคลินิกมีประสิทธิภาพดีขึ้นทางด้านสังคม ระบบการช่วยเหลือและปกป้องคุ้มครองเด็กยังขาดการป้องกันในเรื่องของเอชไอวี แม้ว่าในปัจจุบันจะมีการให้ความรู้และสร้างความเข้าไปในชุมชน แต่ศักยภาพของชุมชนยังไม่ให้ความสำคัญกับการดูแลเด็กเหล่านี้ ปัญหาการถูกตีตรา รังเกียจ และเลือกปฏิบัติที่ยังมีอยู่ทำให้เด็กไม่สามารถเข้าถึงบริการที่สำคัญคือ ข้อมูลเกี่ยวกับเด็กได้รับผลกระทบที่ยังไม่มีการบันทึกอย่างเป็นระบบ ทั้งประเทศรวมถึงพื้นที่ในเขต 12ทำให้การดูแล และสนับสนุนไม่สามารถเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลตำบลยะหา ได้เล็งเห็นความสำคัญถึงการเพิ่มความครอบคลุมการเข้าถึงบริการดูแลรักษาแบบองค์รวมที่จำเป็นและเหมาะสมกับเด็กตามกลุ่มอายุรวมการบริการที่เกี่ยวข้อง ตั้งแต่การป้องกันการดูแลช่วยเหลือด้านอารมณ์สังคม การรักษาที่เน้นที่ตัวเด็กเป็นศูนย์กลางและเด็กที่อยู่ในสภาวะเสี่ยงอื่นๆ ในชุมชนที่มีสถานการณ์เอดส์สูงและการดำเนินงานดังกล่าวจะสำเร็จได้ต้องอาศัยความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องซึ่งประกอบด้วย สำนักงานสาธารณสุขอำเภอยะหาและศูนย์ส่งเสริมสุขภาพเมืองยะหาให้สอดคล้องกับแผนป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1 เพื่อจัดบริการด้านเอชไอวีที่ครบถ้วนและมีประสิทธิผลแก่เด็กและเยาวชน ที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย ผู้ใช้ สารเสพติด และเด็กที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์ 2 เพื่อเสริมสร้างความรู้ ทัศนคติ และทักษะของเยาวชนชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายผู้ใช้สารเสพติด และ เด็กในการประกอบพฤติกรรมทางเพศ ที่มีสุขภาวะ และการใช้บริการด้านการป้องกัน 3 เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพ บริการทางสังคมที่ตอบสนองต่อประเด็นเพศภาวะ เพศวิถี และเท่าเทียมกัน โดยการพัฒนาให้เกิดการเชื่อมประสานการจัดบริการที่ครบถ้วน และต่อเนื่อง กับระบบบริการสุขภาพทางเพศ และการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีที่มีอยู่ 4 เพื่อผลักดันให้มีนโยบายทั้งในระดับประเทศ และท้องถิ่น โดยผ่านกลไกประสานงานอำเภอ โดยผสมผสานกลมกลืนไปกับระบบบริการสุขภาพ ชุมชน และการปกป้องคุ้มครองทางสังคม ที่สอดคล้องรองรับกับกระบวนการกระจายอำนาจของประเทศ 5 เพื่อจัดบริการดูแลรักษาและสนับสนุนการบริการ รวมถึงให้ยาต้านไวรัสเอดส์แก่กลุ่มเป้าหมาย ที่เข้าไม่ถึงบริการตามสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติถ้วนหน้า 6 เพื่อพัฒนาระบบข้อมูล ข้อสนเทศ เชิงยุทธศาสตร์ เพื่อใช้ปรับปรุงนโยบายและการดำเนินงาน เอชไอวี

 

0.00

1 เพื่อจัดบริการด้านเอชไอวีที่ครบถ้วนและมีประสิทธิผลแก่เด็กและเยาวชนที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย ผู้ใช้
สารเสพติด และเด็กที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์
2 เพื่อเสริมสร้างความรู้ ทัศนคติ และทักษะของเยาวชนชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายผู้ใช้สารเสพติด และ
เด็กในการประกอบพฤติกรรมทางเพศ ที่มีสุขภาวะ และการใช้บริการด้านการป้องกัน
3เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพ บริการทางสังคมที่ตอบสนองต่อประเด็นเพศภาวะ เพศวิถี
และเท่าเทียมกัน โดยการพัฒนาให้เกิดการเชื่อมประสานการจัดบริการที่ครบถ้วน และต่อเนื่อง
กับระบบบริการสุขภาพทางเพศ และการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีที่มีอยู่
4 เพื่อผลักดันให้มีนโยบายทั้งในระดับประเทศ และท้องถิ่น โดยผ่านกลไกประสานงานอำเภอ
โดยผสมผสานกลมกลืนไปกับระบบบริการสุขภาพ ชุมชน และการปกป้องคุ้มครองทางสังคม
ที่สอดคล้องรองรับกับกระบวนการกระจายอำนาจของประเทศ
5 เพื่อจัดบริการดูแลรักษาและสนับสนุนการบริการ รวมถึงให้ยาต้านไวรัสเอดส์แก่กลุ่มเป้าหมาย
ที่เข้าไม่ถึงบริการตามสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติถ้วนหน้า
6 เพื่อพัฒนาระบบข้อมูล ข้อสนเทศ เชิงยุทธศาสตร์ เพื่อใช้ปรับปรุงนโยบายและการดำเนินงาน
เอชไอวี

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้โรคเอดส์

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้โรคเอดส์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลยะหา โครงการให้ความรู้ เรื่องโรคเอดส์เชิงปฏิบัติการจำนวน30,670.-บาทเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในโครงการฯดังนี้ 1. ค่าป้ายไวนิลโครงการฯ
ขนาด1x3 ม. จำนวน1ป้าย เป็นเงิน750.-บาท 2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
จำนวน100 คนๆ ละ 30 บาทจำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน3,000.-บาท 3. ค่าสมนาคุณวิทยากรฝึกอบรมจำนวน 2 ชม.ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,200.-บาท
4. ค่าวัสดุอุปกรณ์ฝึกอบรม จำนวน100ชุดๆละ 120 บาทเป็นเงิน12,000.-บาท (กระเป๋าถุงผ้า สมุด ปากกา)
รวมเป็นเงิน.-บาท
หมายเหตุ ค่าใช้จ่ายทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยจ่ายได้ตามความเหมาะสม

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 0.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1 นักเรียนนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมจำนวน100 คน
2 นักเรียนนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และป้องกันการติดเชื้อรายใหม่
3 นักเรียนนักศึกษารู้จักวิธีในการหลีกเลี่ยงยาเสพติดและเอดส์
4 นักเรียนนักศึกษามีความกล้าแสดงออกในสิ่งที่ถูกต้องมากขึ้น


>