กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง รหัส กปท. L7161

อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาชีวอนามัย และความปลอดภัยในการทำงานของพนักงานเทศบาลเมืองเบตงระยะที่ 2 (ปฏิบัติงานบนสำนักงาน)
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองเบตง
3.
หลักการและเหตุผล

ปัญหาสุขภาพในการทำงานเป็นปัญหาสำคัญต่อกลไกในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจโดยตรง พบปัญหานี้อย่างมากในประชากรที่อยู่ในช่วงของวัยแรงงาน โดยเฉพาะในปัจจุบันผลกระทบที่เกิดขึ้นจึงส่งผลต่อประสิทธิภาพในการทำงานที่อาจร้ายแรงถึงขั้นสูญสียแรงงานส่วนหนึ่งออกไปจากระบบเศรษฐกิจอันจะนำไปสู่ปัญหาขาดแคลนภาวะ แรงงานในภาคเศรษฐกิจต่อไปในอนาคต ซึ่งอุปกรณ์สื่อสารและคอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทสำคัญต่อการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการทำงานของสำนักงาน ด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ทำให้สำนักงานในองค์กร ต่าง ๆ นำเทคโนโลยีเหล่านี้เข้ามาช่วยในการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการรับ-ส่ง ข้อมูลข่าวสารอิเล็กทรอนิกส์ การทำธุรกิจและให้บริการบนอินเตอร์เน็ต ตลอดจนการใช้เป็นเครื่องมือช่วยใน การทำงาน พนักงานส่วนใหญ่ในสำนักงานใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์หลักในการปฏิบัติงานต่าง ๆ อย่างต่อเนื่องโดยที่ระยะเวลาในการปฏิบัติงานกับเครื่องคอมพิวเตอร์ในแต่ละวันพบว่ามีระยะเวลาการใช้งาน นานกว่า 4 ชั่วโมงโดยเฉพาะอย่างยิ่งในพนักงานระดับปฏิบัติการจะพบว่ามีระยะเวลาการใช้งานเครื่อง คอมพิวเตอร์นานกว่า 6 ชั่วโมงต่อวัน การใช้คอมพิวเตอร์ในการปฏิบัติงานอาจส่งผลต่อสภาพร่างกายและ ประสิทธิภาพในการทำงานของผู้ใช้อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ซึ่งมีผลการวิจัยเป็นจำนวนมากที่พบว่าการปฏิบัติงาน ที่ต้องใช้คอมพิวเตอร์ในการทำงานเกือบตลอดทั้งวันเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดภาวะความเสี่ยงต่อร่างกายใน ด้านต่าง ๆ เช่น อาการปวดบริเวณกล้ามเนื้อ คอและไหล่ปวดขมับและศีรษะ อาการผิดปกติทางตา ตาแห้ง อาการเมื่อยล้าทางตา อนึ่ง ตามกฎหมายพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงานปี 2551 มาตรา 23 ของประเทศไทย ได้มีการกำหนดจำนวนชั่วโมงของการทำงานสำหรับงานที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพและความปลอดภัย ต้องไม่เกินวันละ 7 ชั่วโมง และสัปดาห์หนึ่งไม่เกิน 42 ชั่วโมง ทั้งนี้ สาเหตุเนื่องจากปัจจุบันพบว่า หลายองค์กรได้นำดัชนีชี้วัดความสำเร็จ (KPI) เข้ามาใช้ภายในองค์กร และกำหนดเกณฑ์การให้ผลตอบแทน อาทิ ตำแหน่ง เงินเดือน ตามการประเมินผลการปฏิบัติงาน (Performance Management) เพื่อสร้างแรงจูงใจให้ผู้ปฏิบัติงานภายในองค์กรต้องทุ่มเทอย่างหนักและเร่งสร้างผลงานในการทางาน เพื่อสร้างความพร้อมและความได้เปรียบทางการแข่งขัน (Competitive advantage) ให้กับองค์กร (ณรงค์วิทย์ แสนทอง, 2556) รวมถึง หลายองค์กรมีจานวนผู้ปฏิบัติงานไม่เพียงพอต่อปริมาณงาน เนื่องมาจากสภาวะเศรษฐกิจ หลายองค์กรจึงมีนโยบายการลดขนาดองค์กร และพยายามจากัดการรับพนักงาน ส่งผลให้เกิดสภาวะอัตรากาลังคนขาดผู้ปฏิบัติงานซึ่งเป็นพนักงานประจำ จำเป็นต้องรับภาระงานที่ค่อนข้างมากกว่าปกติ (Workload)(Ahmadi & Asl, 2013) ด้วยเหตุนี้ จึงส่งผลให้ปัจจุบันแนวโน้มของผู้ปฏิบัติงานมีจำนวนชั่วโมงการทำงานที่เพิ่มสูงขึ้น โดยมีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคออฟฟิตซินโดรมหรือโรคคอมพิวเตอร์ซินโดรมของผู้ปฏิบัติงานภายในสำนักงาน (คมปกรณ์ ลิมป์สุทธิรัชต์, 2555) จากการที่เทศบาลเมืองเบตง ได้ดำเนินการในการจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ อาชีวอนามัย และความปลอดภัยในการทำงานของพนักงานเทศบาลเมืองเบตง พ.ศ. 2566 ซึ่งได้จัดฝึกอบรมโครงการดังกล่าว แก่พนักงานเจ้าหน้าที่สังกัดกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม สังกัดกองช่างและสังกัดงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สำนักปลัดเทศบาล พบว่า มีความรู้ความปลอดภัยเกี่ยวกับ อาชีวอนามัย และความปลอดภัย เพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 96 อีกทั้งยังได้รับความร่วมมือและสนับสนุนอย่างเต็มที่จากผู้เข้าร่วมอบรมทุกท่านซึ่งโครงการดังกล่าวประสบความสำเร็จอย่างดีเยี่ยม เทศบาลเมืองเบตงจึงมองเห็นและให้ความสำคัญอีกกลุ่มหนึ่งที่ปฏิบัติงานบนสำนักงาน ซึ่งประกอบด้วยกองฝ่าย จำนวน 8 กอง ได้แก่ สำนักปลัดเทศบาล กองคลัง กองการศึกษา กองช่าง กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม กองยุทธศาสตร์และงบประมาณ กองสวัสดิการสังคม และกองการเจ้าหน้าที่ มีจำนวนหน้าที่ที่ปฏิบัติงานบนสำนักงานทั้งสิ้น 212 คน (ข้อมูล ณ เดือนกรกฎาคม 2566) ซึ่งส่วนใหญ่ต้องทำงานโดยการใช้คอมพิวเตอร์เป็นส่วนใหญ่ ไม่ว่าจะเป็นงานสารบรรณ งานจัดเก็บข้อมูลในระบบฐานข้อมูล การออกใบอนุญาต การเขียนแบบ หรือแม้กระทั่งสื่อประชาสัมพันธ์ต่างๆ ซึ่งต้องนั่งทำงานมากกว่า 7 ชั่วโมงต่อวัน ก่อให้เกิดเป็นลักษณะอาการเจ็บป่วยสะสม (Repetitive strain injury) และอาการเมื่อยล้าบริเวณตา (Computer Vision Syndrome) ที่เกิดจากการมีพฤติกรรมท่าทางการทำงาน ในอิริยาบทเดิมๆ ของผู้ปฏิบัติงาน เป็นระยะเวลานาน มีความเครียดจากการทำงาน และสภาพแวดล้อมจากการทำงานไม่เหมาะสม อีกทั้งยังพบว่า พนักงานเทศบาลยังขาดความรู้ความเข้าใจถึงสาเหตุ การตระหนักรู้ การวางกลยุทธ์ แนวทางการป้องกันการเกิดโรคออศฟิตซินโดรมและโรคคอมพิวเตอร์ซินโดรม เทศบาลเมืองเบตง โดยกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ได้เกิดความตระหนักและเห็นถึงอันตราย ที่จะเกิดขึ้นกับพนักงานเทศบาลที่ปฏิบัติงานบนสำนักงานดังกล่าวข้างต้น จึงได้จัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ อาชีวอนามัย และความปลอดภัยในการทำงานของพนักงานเทศบาลเมืองเบตง ระยะที่ 2 เพื่อให้การประกอบอาชีพการปฏิบัติงานของพนักงานเทศบาลที่ปฏิบัติงานบนสำนักงาน มีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงโรคออฟฟิศซินโดรมและโรคคอมพิวเตอร์ซินโดรม สามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการป้องกันโรค ทำให้ปราศจากโรคและมีสภาวะสมบูรณ์ดีทั้งทางร่างกาย ทางจิตใจ ทางสังคม และจิตวิญญาณ มีสภาวะ ที่ปราศจากภัยคุกคามไม่มีอันตราย หรือความเสี่ยงใดๆ อนึ่ง การดำเนินงานโครงการดังกล่าวจะส่งผลให้ประชาชนในเขตเทศบาลเมืองเบตง ได้รับการจัดบริการสาธารณะอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป ทั้งนี้ขอรับรองว่าโครงการนี้ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น มีความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน และเทศบาลเมืองเบตงได้รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติฯ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติมแล้ว

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1. พนักงานเทศบาลและเจ้าหน้าที่ มีความรู้เรื่องอาชีวอนามัย ความปลอดภัยในการทำงาน
    ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 85 ของพนักงานเทศบาลและเจ้าหน้าที่ มีความรู้เรื่องอาชีวอนามัย ความปลอดภัยในการทำงาน
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. 2. เพื่อให้พนักงานเทศบาลและเจ้าหน้าที่ สามารถค้นหาความเสี่ยง และ สามารถขจัดความเสี่ยงต่อสุขภาพได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : 2. พนักงานเทศบาลและเจ้าหน้าที่ สามารถค้นหาความเสี่ยง และ สามารถขจัดความเสี่ยงต่อสุขภาพได้ถูกต้อง
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 3. 3. เพื่อให้พนักงานเทศบาลและเจ้าหน้าที่ สามารถนำความรู้และทักษะที่ได้รับไปจัดการความเสี่ยง จากการทำงานที่ส่งต่อสุขภาพได้
    ตัวชี้วัด : 3. พนักงานเทศบาลและเจ้าหน้าที่ สามารถนำความรู้และทักษะที่ได้รับไปจัดการความเสี่ยงจากการทำงานที่ส่งต่อสุขภาพได้
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. อบรมเชิงปฎิบัติการเรื่องอาชีวอนามัย ความปลอดภัยในการทำงาน แบ่ง 8 กลุ่ม
    รายละเอียด
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (35 บาท x 2 มื้อ x 200 คน) เป็นเงิน14,000 บาท
    • ค่าอาหารกลางวัน (75 บาท x 1 มื้อ x 200 คน x 1 วัน) เป็นเงิน15,000บาท
    • ค่าวัสดุอุปกรณ์
      • สมุดปกอ่อน ขนาด 60 แกรม 10 บ. x 200 คน เป็นเงิน2,000 บาท
      • ปากกา 10 บ. x 200 คน เป็นเงิน2,000 บาท
      • แฟ้มพลาสติกชนิดมีกระดุมขนาด A4 15 บ. x 200 คน เป็นเงิน3,000 บาท
      • เอกสารการอบรม 10 บ. x 200 คน เป็นเงิน2,000 บาท
      • กระดาษบรู๊ฟ 5 บ. x 30 แผ่น เป็นเงิน150บาท
      • ปากกาเคมี 20 บ. x 15 ด้าม เป็นเงิน300 บาท
      • ค่าป้ายโครงการ ขนาด 1 x 3 เมตร เป็นเงิน750 บาท
      • ค่าเข้ารูปเล่ม เป็นเงิน300 บาท
    • ค่าเช่าสถานที่ เป็นเงิน 4,000บาท
    • ค่าตอบแทนวิทยากร (9 ชั่วโมงx 600 บ/ชม. x 8 คน) เป็นเงิน43,200บาท รวมเป็นเงิน เป็นเงิน86,700 บาท
    งบประมาณ 86,700.00 บาท
  • 2. อบรมเชิงปฏิบัติการ (แบ่งกลุ่ม 8 กลุ่ม)
    รายละเอียด
    • ค่าวัสดุที่ใช้ในโครงการฯ
      • วัสดุอุปกรณ์ในการฝึกปฏิบัติการจัดทำอาหารสุขภาพ เป็นเงิน  15,000  บาท รวมเป็นเงิน เป็นเงิน  15,000 บาท
    งบประมาณ 15,000.00 บาท
  • 3. กิจกรรมสันทนาการ
    รายละเอียด
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (35 บาท x 2 มื้อ x 200 คน) เป็นเงิน  14,000   บาท
    • ค่าอาหารกลางวัน (75 บาท x 1 มื้อ x 200 คน x 1 วัน) เป็นเงิน  15,000  บาท
    • ค่าตอบแทนวิทยากร (4 ชั่วโมง  x 600 บ/ชม. x 2 คน) เป็นเงิน  4,800  บาท
    • ค่าวัสดุอุปกรณ์ออกกำลังกาย เป็นเงิน  3,200  บาท รวมเป็นเงิน เป็นเงิน  37,000  บาท
    งบประมาณ 37,000.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 2 ตุลาคม 2566 ถึง 29 ธันวาคม 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

1. โรงแรมการ์เด้นวิว อำเภอเบตง จังหวัดยะลา2. โรงยิม กองการศึกษา เทศบาลเมืองเบตง3. สระว่ายน้ำ กองการศึกษา เทศบาลเมืองเบตง4. ศาลาภิรมทัศน์ กองช่าง เทศบาลเมืองเบตง

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 138,700.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

 

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง รหัส กปท. L7161

อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง รหัส กปท. L7161

อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 138,700.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................